การสร้างสารเพื่อเสริมแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของหน่วยงานภาครัฐในประเทศไทย

Main Article Content

ประภัสสร จันทร์สถิตย์พร
จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์

Abstract

ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา


จุดเริ่มต้นของความสนใจในการศึกษาวิจัยเรื่องการสร้างสาร เพื่อเสริมแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของหน่วยงานภาครัฐในประเทศไทยนั้น เริ่มจากการที่ผู้วิจัยได้เห็นการทํางานของวลีสําคัญๆ 2 ประโยค ที่มีผลต่อกระบวนการตั้งคําถามหรือตั้งประเด็นในการศึกษาของตนเอง วลีแรกคือ “เมืองไทย เมืองสร้างสรรค์” หรือ “Creative Thailand” เมื่อครั้งการประกาศพันธะสัญญาในการบริหารราชการของรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ โดยมีการบรรจุเรื่องเศรษฐกิจสร้างสรรค์นี้อยู่ในคําแถลงนโยบายของรัฐมนตรีต่อรัฐสภาเมื่อ 29 ธันวาคม 2551 มีการจัดทําแผนแม่บทการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่อพัฒนา องค์ความรู้และสร้างนวัตกรรมสร้างความเข้มแข็งแก่ผู้ประกอบการไทย สร้างมาตรฐานทางธุรกิจ พัฒนาการตลาดและพัฒนาบุคลากรให้ขับเคลื่อน ประเทศไทยไปสู่การเป็นศูนย์รวมความสร้างสรรค์ของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อที่จะสร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจของไทย ไม่ให้ ต้องพึ่งพาแต่เพียงการส่งออกสินค้าที่ต้องผันแปรตามสถานการณ์ ตลาดโลกแต่เพียงอย่างเดียวอีกต่อไป (สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี 2551)

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

ประภัสสร จันทร์สถิตย์พร, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประภัสสร จันทร์สถิตย์พร (นศ.ด. นิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554)

จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์ (Ph.D. University of Exeter, England, 2008) ปัจจุบันดํารงตําแหน่งอาจารย์ประจําภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะ นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ. (2553). แนวพินิจใหม่ในสื่อสารศึกษา โครงการเมธีวิจัยอาวุโส ฝ่ายวิชาการ สํานักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย (สกว).
กาญจนา แก้วเทพ. (2548). ทฤษฎีการสร้างสาร. เอกสารการสอนชุดวิชาการสร้างสารในงานนิเทศศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
คุณากร วิณิชวิรุฬห์. (2552), แปลจาก John Howkins, (2001). เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : เขามั่งคั่งจากความคิดกันอย่างไร Creative Economy: How people make money from ideas. ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ.
ครีเอทีฟ ไทยแลนด์ แมกกาซีน (2552). ฉบับที่ 3 ธันวาคม. ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ.
ชัยประนิน วิสุทธิผล. (2552). ทําไมต้องเศรษฐกิจสร้างสรรค์, ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2540), วัฒนธรรมคือทุน. กรุงเทพฯ : บริษัทสุขุมและบุตร จํากัด.
เทียนฉาย กีระนันท์. (2544) สังคมศาสตร์การวิจัย พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. (2546). ทุนวัฒนธรรม: วัฒนธรรมในระบบทุนนิยมโลก เล่มที่ 1. สํานักพิมพ์มติชน.
ทัศนัย วงศ์พิเศษกุล. (19 สิงหาคม 2554). ผู้อํานวยการสํานักงานอุทยานการเรียนรู้. สัมภาษณ์.
ปรเมธี วิมลศิริ. (2552). ทําไมต้องเศรษฐกิจสร้างสรรค์, ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ.
ประเวศ วะสี. (2542). เศรษฐกิจชุมชน: ทางเลือกเพื่อทางรอดสังคมไทย. การเสวนาเรื่อง “เศรษฐกิจชุมชนทางเลือกเพื่อทางรอดสังคมไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
พิชิต วีรังคบุตร. (28 กรกฎาคม 2554) หัวหน้าฝ่ายเนื้อหาและองค์ความรู้ หัวหน้าฝ่ายนิทรรศการศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ, สัมภาษณ์.
ศุภวุฒิ สายเชื้อ. (2552). ทําไมต้องเศรษฐกิจสร้างสรรค์, ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552), จากวิสัยทัศน์ 2570 สู่แผน 11 เอกสารประกอบการประชุมประจําปี 2552, กรกฎาคม 2552.
สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (2551), คําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี, กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, ธันวาคม 2551 รณฤทธิ์ ธนโกเศศ. (17 สิงหาคม 2554). ที่ปรึกษาและคณะผู้ร่วมจัดตั้งสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ สัมภาษณ์ วัฒนชัย วินิจจะกุล. (1 กันยายน 2554). หัวหน้าฝ่ายวิชาการและองค์ความรู้สํานักงานอุทยานการเรียนรู้ สัมภาษณ์
อภิสิทธิ์ ไล่ศัตรูไกล. (6 พฤษภาคม 2554). ผู้อํานวยการศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ, สัมภาษณ์.
อรอําไพ, ม.ล. พนานุรัตน์. (9 สิงหาคม 2554). ผู้จัดการพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ, สัมภาษณ์.
อารยะ มาอินทร์. (29 กันยายน 2554). ผู้อํานวยการสํานักนโยบายและแผนและรักษาการผู้อํานวยการสํานักโครงการและการจัดการความรู้ สํานักบริหารและพัฒนาองค์ความรู้, สัมภาษณ์.

ภาษาอังกฤษ
Creative Macao (ออนไลน์). 2010. (13 มกราคม 2553). แหล่งที่มา http://www.creativemacau.org.mo/EN/ overview.php.
China Creative Space. (ออนไลน์). 2010. (13 มกราคม 2553). แหล่งที่มา: http://www.798space.com/index_en.asp.
Fisher, Walter R. (1987). Human Communication as Narration: Toward a Philosophy of Reason, Value,and Action. Columbia: University of South Carolina Press,
Gibson, C. and Klocker, N. (2005). The Cultural Turn in Australian Regional Economic Development Discourse: Neoliberalising Creativity?. Geographical Research. 43: 1, 93-102.
Hartly, David. (2003). New Economy, New Pedagogy. Oxford Review of Education. 29: 1, 81-94.
Keane, Michael A. (2004). Brave the new world: understanding China's creative vision. International
Journal of Culture Policy. 10: 3, 265-279. Korea Creative Content Agency (Doulav). 2010. (13 HOSIAH 2553). แหล่งที่มา : http://www.koreacontent.org/weben/etc/kocca.jsp.
Ministry of Information, Communication and the Arts (boulavi). 2010. (13 มกราคม 2553). แหล่งที่มา:
http:// http://www.designsingapore.org/pdf, http://www.mica.gov.sg.
Morgan, George. (2006). Work in progress: narratives of aspiration from the new economy. Journal of Education and Work. 19: 2, 141-151.
Ooi, Can-Seng. (2006). Bounded Creativity and the Push for the Creative Economy in Singapore. Asia Reconstructed: Proceedings of 16" Biennial Conference of the Asian Studies Association of Australia, Wollongong, Australia.
Sufern Hoe. (2009). Governing the Designer for a Creative Singapore. The 4th Asian Graduate Forum on Southeast Asian Studies, Singapore.
United Nations (UNCTAD/UNDP). (2008). Creative Economy Report 2008. Geneva and New York: Author.