การสื่อสารภาคประชาชน เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่เศรษฐกิจประชาคมอาเซียน ในพื้นที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย

Main Article Content

ขวัญชนก ณียวัฒน์
กาญจนา แก้วเทพ

Abstract

The qualitative research method employing in-depth interviews used to study the civil society communication in aspect of informing about ASEAN Economic Community and the role of information about ASEAN Economic Community in preparing the people on Mae-Sai district, Chiang Rai province for attending ASEAN Community in 2015. The total data collected from 14 local personal media, 4 community radio stations, and village representatives from 5 villages.


          The research results revealed that:


  • The information exposure and seeking about ASEAN Economic community of local people media and community radio in Mae-Sai, Chiang Rai province came from various seminars which held by the district level and provincial levels agencies.

  • To provide information about the ASEAN Economic community, the local personal media perform via/ media each agency exists and the community radios provide information via radio to broadcast the information.

  • Majority of samples in this research exposed to the information about ASEAN Economic Community 2015 from the civil society communication (from community radio and voice line) but they didn’t seek the information about ASEAN Economic Community 2015 from the civil society communication

  • Majority of samples in this research also exposed to and sought for the information about ASEAN Economic Community 2015 through other media, such as television, newspaper and internet.

  • The role of the information about ASEAN Economic Community 2015 which samples in this research gain from local personal media and community radio found that samples in this research were aware of joining the ASEAN Economic Community. They also have knowledge and understand about the ASEAN Economic Community in 2015 from low level to medium level. Moreover, the have positive attitude about the economy in Mae Sai area and were able to adjust themselves by promoting children to learn other language to get ready for ASEAN Economic Community in 2015.

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

ขวัญชนก ณียวัฒน์

ขวัญชนก ณียวัฒน์ (นศ.ม. นิเทศศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)

กาญจนา แก้วเทพ, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กาญจนา แก้วเทพ (Ph.D., University of Paris 7, France, 1984) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

ภาคไทย
กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. การจัดการความรู้เบื้องต้นเรื่อง “การสื่อสารชุมชน”. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2551.
กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. ใต้ฟากฟ้าแห่งการศึกษา : สื่อบุคคลและเครือข่ายการศึกษา ภาพรวมจากงานวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2549.
กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. สื่อเพื่อชุมชน : การประมวลองค์ความรู้. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย, 2543.
กาญจนา แก้วเทพ, สื่อสารมวลชน ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์. 2552.
กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. วิทยุชุมชน : คลื่นหนุนการสร้างพลังให้ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย, 2549.
กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. ระบบการสื่อสารเพื่อชุมชน. สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย, 2543.
ขจิต จิตตเสวี. องค์กรระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2552.
จิรพร วิทยศักดิ์พันธุ์ และ นาฏยา ตนานนท์. คู่มือวิทยุชุมชน. องค์การเพื่อการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ. กรุงเทพฯ, 2550.
จุมพล รอดคำดี. “วิทยุกระจายเสียงชุมชน ของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน” ในวิทยุชุมชน การปฏิรูปเพื่อสังคม. อุบลราชธานี, 2542.
พรทิพย์ วรกิจโภคาทร. หลักและทฤษฎีการสื่อสาร : ผู้รับสาร. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2535.
เสถียร เชยประทับ. การสื่อสารและการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : เจ้าพระยาการพิมพ์, 2528.
AEC FACT BOOK. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์, 2555.