บทประพันธ์เพลง “ตลาดน้ำอโยธยา” สําหรับ เปียโน ไวโอลิน และ คลาริเน็ต

Authors

  • รุจิภาส ภูธนัญนฤภัทร

Keywords:

MUSIC COMPOSITION, AYOTHAYA, FLOATING MARKET, CONTEMPORARY MUSIC

Abstract

The music composition “Ayothaya Floating Market” is a descriptive music that narrates about the great time of Ayutthaya-Thonburi and their civilization in the past, and also to recognize the 250th anniversary of Ayutthaya-Thonburi, which is a cultural heritage and promoting the Ayothaya Floating Market tourism. The music composition is composed in the form of descriptive music and combined thoughts and concept of Western music and Thai music to reflect the folkways. The contemporary music has been combined for the chamber music that includes of clarinet, violin, and piano; time duration 28 minutes.

The composition has the delightful harmony from blending of the interval of Diatonic, Chromatic scale while various techniques have been applied into the rhythm i.e. Stacked Chords, compound melody, variation, polyphony and heterophony. Integrating the music arrangement, technique of solo playing, and music textures to reflect the rustic stories in the Ayothaya floating market. Technique and idea of this music is to present new way of the music composition craft and also for the purpose of creating the academic work.

Author Biography

รุจิภาส ภูธนัญนฤภัทร

อาจารย์ประจำสาขาดนตรีสากล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศษสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

References

คมสันต์ วงค์วรรณ์. (2551). ดนตรีตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไขแสง ศุขะวัฒนะ. (2535). สังคีตนิยมว่าด้วย : ดนตรีตะวันตก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
ไทยวัฒนาพานิช.
ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร. (2552). การประพันธ์เพลงร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
______________. (2553). อรรถาธิบายและบทวิเคราะห์เพลงที่ประพันธ์โดยณรงค์ฤทธิ์ ธรรทบุตร.
กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2548). สังคีตนิยม : ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก. พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพมหานคร :
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัชชา พันธุ์เจริญ. (2553). สังคีตลักษณ์และการวิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์เกศกะรัต.
______________. (2552). ทฤษฏีดนตรี. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์เกศกะรัต.
______________. (2554). พจนานุกรรมศัพท์ดุริยางคศิลป์. พิมพ์ครั้งที่4. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
เกศกะรัต.
ณัชชา โสคติยานุรักษ์. (2548). การเขียนเสียงประสานสี่แนว. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์เกศกะรัต.
ประสิทธิ์ เลียวสิริพงศ์. (2538). ประวัติดนตรีตะวันตกโดยสังเขป. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
จงเจริญการพิมพ์.
______________. (2545). ปทานุกรมดนตรีสากล. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์แสงศิลป์.
ไพบูลย์ กิจสวัสดิ์. (2535). คีตกวี ปรัชญาเมธีแห่งภาษาสากล. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : วัชระ ออฟเซ็ท.
รุจิภาส ภูธนัญนฤภัทร. (2560). ตลาดน้ำอโยธยา. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฏาคม 2560.
จาก http://ayothayafloatingmarket.in.th/
วิบูลย์ ตระกูลฮุ้น. (2558). ดนตรีศตวรรษที่ 20. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วีรชาติ เปรมนนท์ (2532). รายงานการวิจัย เรื่องดนตรีไทยแนวใหม่ช่วงปี พ.ศ. 2520-2530
ทุนวิจัยรัชดาภิเษกสมโภช, จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย.
______________. (2537) ปรัชญาและเทคนิคการแต่งเพลงร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : คณะศิลปกรรมศาสตร์
จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2553). ดนตรีไทยมาจากไหน?. นครปฐม : สำนักพิมพ์วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
มหาวิทยาลัยมหิดล.
Genichi Kawakami. Arranging Popular Music. Japan :Yahaha Music Foundation Press, 1975.

Downloads

Published

2017-12-29

How to Cite

ภูธนัญนฤภัทร ร. (2017). บทประพันธ์เพลง “ตลาดน้ำอโยธยา” สําหรับ เปียโน ไวโอลิน และ คลาริเน็ต. Fine Arts Journal: Srinakharinwirot University, 21(2), 41–54. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/jfofa/article/view/208757

Issue

Section

Research Article