วารสารวิชาการ รมยสาร ฉบับปฐมฤกษ์ของปี พ.ศ. 2561 นี้มีการเปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อย คือ
การอ้างอิงเอกสารในเนื้อหา (In-text citation) ให้ใช้ภาษาอังกฤษเท่านั้น และ “เอกสารอ้างอิง” ท้าย
บทความที่เป็นภาษาไทยให้แปลเป็นภาษาอังกฤษด้วย โดยเพิ่มส่วน Translated Thai Reference ต่อ
จากรายการเอกสารอ้างอิงภาษาไทย นอกจากนั้น ยังมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเขียนข้อมูลส่วนตัวเพื่อ
แนะนำผู้เขียน (Author) โดยให้เขียนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จึงขอให้ท่านที่จะส่งบทความเพื่อตี
พิมพ์เผยแพร่ในรมยสาร ได้ศึกษาหลักเกณฑ์การเขียนบทความให้ละเอียดและปฏิบัติตามข้อกำ หนดนี้อย่าง
เคร่งครัด โดยข้อมูลส่วนนี้สามารถสืบค้นได้จากเว็บไซต์รมยสารคือ https://rommayasan.bru.ac.th
“เกษตรทฤษฎีใหม่ หรือ เกษตรผสมผสาน หรือ เกษตรพอเพียง ที่ขับเคลื่อนโดยกลุ่มเกษตรกร
ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “ปราชญ์ชาวบ้าน” เป็นการทำการเกษตรที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ มีต้นทุนต่ำ
และรักษาระบบนิเวศ จึงนำ ไปสู่การพึ่งตนเองได้...” นี้คือเนื้อหาบางส่วนของบทความหนึ่งที่ตีพิมพ์เผยแพร่
ในรมยสารฉบับนี้ ดังนั้น จึงได้นำแก่นแกนของบทความนี้แปลงออกมาเป็นรูปบนหน้าปกวารสารเพื่อฉายให้
เห็นภาพ “การส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”
และในฉบับนี้ ยังมีบทความกิตติศักดิ์ “Learning and Teaching in Our Digital Age” ของ Professor
Dr. Will Barratt, Professor Emeritus of Educational Leadership, Indiana State University, U.S.A
มาร่วมแบ่งปันความรู้ด้วย โดยข้อความตอนหนึ่งของบทความนี้มีความน่าสนใจมาก นั้นคือ “In our digital
age, the formal and informal education industry provides wonderful experiences designed
for learning….(ในยุคสมัยแห่งดิจิทัล อุตสาหกรรมการศึกษาทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการล้วนช่วย
เสริมประสบการณ์ที่ออกแบบไว้ให้เกิดการเรียนรู้อย่างน่าอัศจรรย์...” นอกจากบทความ 2 เรื่องนี้แล้ว ยัง
มีอีก 27 บทความที่น่าสนใจและน่าอ่านน่าศึกษาซึ่งจะช่วยเสริมเติมเต็มความรู้ให้หลากหลายรอบด้าน
กองบรรณาธิการ ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ และนักวิจัยที่ได้ส่งบทความมาร่วมเผยแพร่
ในรมยสารและหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านจะสนใจส่งบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารนี้ในโอกาสต่อๆ ไป

เผยแพร่แล้ว: 01-01-2018

ส่วนหน้า

ส่วนหน้า - บรรณาธิการ 1-14

ส่วนหน้า-บทบรรธิการ หน้าที่ 1 -14

Learning and Teaching in our Digital Age

Professor Dr.Will Barratt

บทที่ 1 หน้า 21-28

ภูมิคุ้มกันเชิงสังคมในสังคมก้มหน้า

ดร.เอนก สุวรรณณฑิต

บทที่ 3 หน้าที่ 45-60

ความท้าทายต่อชุมชนปฏิบัติชาวสวนลุ่มน้ำแม่กลอง

มานะ นาคำ, สมชัย ภัทรธนานันท์

บทที่ 4 หน้า 61-82

ความสุขในการทำงานของบุคลากรบริษทั มหาชน

ดร.ศรีนวล แตงภู่, อารง สุทธาศาสน์

บทที่ 5 หน้า 83-104

พลวตัการปรับตัวในการประกอบอาชีพของคนไทยเชื้อสายจีนในจังหวดัสุรินทร์

ณัฐพัชรร์ เตชะรุ่งไพศาล, บุญสม ยอดมาลี

บทที่ 6 หน้าที่ 105-120

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพัน ต่อองค์การของบุคลากรส่วนกลางกรมทรัพยากรน้ำ

ขนิษฐา เผื่อนทอง, เทียนแก้ว เลี่ยมสุวรรณ

บทที่ 7 หน้าที่ 121-136

รูปแบบพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารองค์กรปกครอง

ปิลัน วีระภัทรกุล, ยุภาพร ยุภาศ, ภักดี โพธิ์สิงห์

บทที่ 9 หน้าที่ 157-174

การพัฒนาพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตยในศตวรรษที่ 21

วัฒนชัย ศิริญาณ, ชัยรัตน์ มาสอน

บทที่ 10 หน้าที่ 175-202

Legal Problems on Time Period of Repayment after the Termination of Education Loan Contract

พรรณฐิณี พิภักดิ์, นิสิต อินทมาโน

บทที่ 11 หน้า 203-226

นวัตกรรมแก้ปัญหาการออกเสียงภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์ส าหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษากล่มุ ชาติพนัธ ์ุอ่าข่าในจังหวดัเชียงราย

โชคฑีรภัคญ ธนเศรษฐวัฒ, จารุวรรณ เบญจาทิกุล, สมเกียรติ รักษ์มณี, พรสวรรค์ สุวรรณ

บทที่ 16 หน้า 293-322

สภาพและบทบาทภาษาไทยถิ่นเหนือในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำกก

สมหวัง อินทร์ไชย, วิไลศักดิ์ กิ่งคำ, โกวิทย์ พิมพวง

บทที่ 19 หน้าที่ 361-376

พัฒนาการนามศัพท์ “ทนาย” ต้ังแต่สมยัอยุธยาจนถึงสมยัรัตนโกสินทร ์

ณัฐวรรณ ชั่งใจ, สิริวรรณ นันทจันทูล, สุรีย์รัตน์ บำรุงสุข

บทที่ 20 หน้า 377-396

วิเคาระห์โลกทัศน์เหนือธรรมชาติที่ปรากฏในองค์ประกอบของนวนิยาย

อรรถพร ทองบรรเทิง, สุภาพร คงศิริรัตน์

บทที่ 23 หน้าที่ 437-452

วิเคราะห์โลกทัศน์เหนือธรรมชาติที่ปรากฏในองค์ประกอบของนวนิยาย เรื่องพรายพรหม ของรอมแพง

ศราวุธ หล่อดี, ธีรานนท์ จรูญโรจน์, จรัลวิไล จรูญโรจน์, สรบุศย์ รุ่งโรจน์สุวรรณ

บทที่ 24 หน้าที่ 453-470

ระบบเสียงภาษาไทยถิ่นโคราชในอำเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา

พระสิทธิศักดิ์ ธมฺมทายาโท (พรมสิทธิ์)

บทที่ 26 หน้าที่ 491-512

การนำแนวคิดมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทมาลดการยึดมั่นถือมั่นทางวัตถุ

เอก โกไศยกานนนท์, ประเวศ อินทองปาน

บทที่ 27 หน้าที่ 513-532

บทปริทัศน์หนังสือ

นิษฐา หรุ่นเกษม

บทที่ 29 หน้าที่ 549-558

สารบัญ

สารบัญ หน้าที่ 15-20

สารบัญ