ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมกับโครงการด้านศิลปวัฒนธรรมแก่ชุมชน : กรณีศึกษา โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ผู้แต่ง

  • ณิชาภัทร จาวิสูตร สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

การสื่อสารเพื่อการพัฒนา, ความไว้วางใจ, การมีส่วนร่วม

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมกับโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมแก่ชุมชน กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนตำบลหนองแสง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก จำนวน 200 คน   สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุ ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมกับโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ได้แก่ ปัจจัยด้านการสื่อสาร และปัจจัยด้านความไว้วางใจ โดยมีอิทธิพล เท่ากับ .208 และ .182 ตามลำดับ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และร่วมกันอธิบายการมีส่วนร่วมกับโครงการศิลปวัฒนธรรมแก่ชุมชนได้ ร้อยละ 11.8

References

กมล เข็มนาจิตร.(2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองส่วนท้องถิ่น ขององค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี.8(17): 80-89.
คมลักษณ์ สงทิพย์.(2557). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กรณีศึกษา ตลาดน้ำวัดตะเคียน อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี.สารนิพนธ์ ศศ.ม.(การจัดการการท่องเที่ยว).กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต. ถ่ายเอกสาร.
ชินรัตน์ สมสืบ.(2539). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท.สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2560 จาก https://opac.lib.buu.ac.th
ชุติมา ตุ๊นาราง, บุญจง ขาวสิทธิวงษ์ และกานตพันธุ์ พิศาลสุขสกุล.(2554). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนและแนวทางในการพัฒนาการบริหารจัดการมูลฝอยชุมชนในเขตเทศบาลนครสมุทรปราการ.
วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม.7(2):35-48.
ฐิติมา อุดมศรี.(2555). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองส่วนท้องถิ่น : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลในคลอง
บางปลากด อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ. Veridian E-Journal.5(3).223.
ณัฏฐวรนันท์ ชนเมธเตชสิทธิ์.(2552). กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการพัฒนาชุมชนขององค์การบริหารส่วนตําบลพรหมณี อำเภอเมือง
จังหวัดนครนายก.สารนิพนธ์ บธ.ม.(บริหารธุรกิจ).กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ถ่าย
เอกสาร.
บุญชม ศรีสะอาด.(2541). วิธีการทางสถิติสาหรับการวิจัย เล่ม 1.กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
เบญจวรรณ แจ่มจํารุญ.(2557). ปัจจัยบรรยากาศในการสื่อสารภายในองค์กร กระบวนการในการสื่อสาร และสื่อสังคมออนไลน์ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการสื่อสารภายในองค์กรของบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร.สารนิพนธ์ บธ.ม.
(บริหารธุรกิจ).กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ถ่ายเอกสาร.
ประพาพร แก่นจันทร์ เสน่ห์ จุ้ยโต ชินรัตน์ สมสืบ.(2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยของ
เทศบาลในจังหวัดปทุมธานี.วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.10(3):295-302.
พรรณิลัย นิติโรจน์.(2557). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนของกรุงเทพมหานคร : ศึกษาเฉพาะกรณีการจัดทำแผน
ชุมชนพึ่งตนเองเขตวังทองหลาง. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม.(กฎหมายและการจัดการ).กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิต
พัฒนบริหารศาสตร์.ถ่ายเอกสาร.
ภิรดี ลี้ภากรณ์.(2554). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในเขตควบคุมมลพิษ : กรณีศึกษาชุมชนมาบชลูด
อ.เมือง จ.ระยอง. สารนิพนธ์ รป.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์).ระยอง: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ถ่ายเอกสาร.
พิศุทธิ์ อุปถัมภ์.(2556). ความไว้วางใจและลักษณะธุรกิจผ่านสื่อสังคมออนไลน์ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์.
สารนิพนธ์ บธ.ม.(บริหารธุรกิจ).กรงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ถ่ายเอกสาร.
พิสณุ ฟองศรี.(2552). การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย.กรุงเทพฯ: ด่านสุธาการพิมพ์.
ฝ่ายทะเบียนราษฎร์ อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก.(2560). ข้อมูลประชากร. สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2560 จาก
https://www.amphoe.com/menu.php?am=194&pv=17&mid=1.
Department of Palplee District, Nakhonnayok Province.(2017). Population Information. Access 10 May 2017 from
https://www.amphoe.com/menu.php?am=194&pv=17&mid=1.
สมยศ นาวีการ.(2545). การบริหารแบบมีส่วนร่วม.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศูนย์ศึกษาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.(2551). การพัฒนาเงื่อนไขคุณธรรมของข้าราชการเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียง. ในเอกสาร
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารการพัฒนา. หน้า 96. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิต
พัฒนบริหารศาสตร์.
สุรชัย ทุหมัด.(2559). รายงานสรุปผลการดำเนินงานตามพันธกิจสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ใน
เอกสารรายงานประกอบโครงการสัมมนาทบทวนแผนยุทธศาสตร์. หน้า 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
สุรชัย ทุหมัด และสันติธร ภูริภักดี.(2560). ปัจจัยการมีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนกับประสิทธิผลด้านความยั่งยืนของชุมชน
ไทยพวน จังหวัดนครนายก. ใน เอกสารการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง คิดอย่างสร้างสรรค์ด้วยนวัตกรรม
ขับเคลื่อนประเทศด้วยเทคโนโลยี. หน้า 448-461.กรุงเทพฯ: วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม.
อรรถพล เสือแท้ และพีรพัฒน์ เก้ากัญญา.(2558). บทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตําบล
เกาะพยาม อําเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง. ใน เอกสารการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง วิจัย 4.0
นวัตกรรมและการพัฒนา ครบรอบ 80 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.หน้า 3,099-3,107.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนสุนันทา.
Astin, A. W.(1984). The Theory of Parcitipatory of Student.Access in 15 September 2017,from https://
www.gotoknow.org., June 10, 2017.
Morgan, R.M., & Hunt, S.D.(1994). The commitment-trust theory of relationship marketing. Journal of Marketing, 58(3),
20-38.
Ndubisi, N.O.(2007).Relationship marketing and customer loyalty. Marketing Intelligence & Planning. 25(1), 98-106.
Mayer R. C., Davis J, H. and Schoorman F, D.(1980). An Integrative Model of Organizational Trust. The Academy of
Management Review, 20(3), 709-734.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-28