การศึกษาความพึงพอใจของแหล่งท่องเที่ยวเชิิงอนุรักษ์ใน ต.ทุ่งยั้ง อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพท้องถิ่นอย่างยั่งยืน

Main Article Content

สิทธินันท์ ทองศิริ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพือศึกษาความเป็นไปได้ของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ตำบล
ทุ่งยั้ง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นการศึกษาสภาพแวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมถึงสถานที่ท่องเที่ยวทีเป็นศาสนสถาน และสถานทีท่องเที่ยวตามธรรมชาติรูปแบบของการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยมีกลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนในพื้นที่ จำนวนทั้งสิิ้น 120 คน และผู้ทีมาเที่ยวชมในสถานที่ท่องเทียว จำนวน 50 คน ซึงผู้วิจัยได้ใช้เครืองมือ คือ แบบสัมภาษณ์สภาพทั่ว ไปของตำบลทุ่งย้ังและแบบสอบถามความเหมาะสม,ความพึงพอใจของสถานที่ท่องเที่ยว และเก็บข้อมูลเพือการวิเคราะห์หาค่าเฉลีย แบบร้อยละ การท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ของชุมชนท้องถิน ตำบลทุ่งยัง% อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ปัจจุบันยังไม่มีการจัดการท่องเทียวอย่างเป็นระบบของการท่องเที่ยว ทีประกอบด้วย 3 ระบบ คือ1) ทรัพยากรการท่องเทียว ซึงประกอบด้วยแหล่งท่องเที่ยว 2) การบริการการท่องเทียว คือ การบริการ หรือกิจกรรมทีมีผลเกียวกับการท่องเทียวในพื้นนั้น 3) การตลาดการท่องเทียว เป็นส่วนของความต้องการในการท่องเที่ยว ที่เกียวข้องกับนักท่องเทียว ผู้ประกอบการ และประชาชนใน
พื้นที ซึงในปัจจุบัน ชุมชนท้องถิ่น ตำบลทุ่งยั้ง ไม่ได้ทำตามหลักการข้อที และข้อที 3 ทีกล่าวมาข้างต้น ดังนั้น หากจะมีการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวอย่างสมบูรณ์จะต้องมีการพัฒนาในทุก ๆ ด้าน อย่างต่อเนืองพร้อมกันด้วย จากการศึกษาความพร้อมของแหล่งท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ของชุมชนท้องถนิ ตำบลทุ่งยั้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ผลการศึกษาวิจัยพบว่ามีแนวทางเป็นไปได้อย่างสูง หากจะมีการ พัฒนาด้านการท่องเทียวให้เป็นแหล่งท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ เพราะตำบลทุ่งยั้ง นั้นมีความพร้อมในปัจจัยพื้นฐานทางวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา และโบราณสถานทีมีอยู่ในท้องถนิ ดังนั้น หากสามารถจัดทำโปรแกรมการท่องเทียวทีน่าสนใจ โดยมีคณะกรรมการหมู่บ้าน และผู้ทีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจท่องเที่ยวภายในพื้นที จะทำให้มีนักท่องเที่ยวเข้าไปเยีย่มเยือนอย่างต่อเนืองทุกฤดูการท่องเทีย ว

Abstract
The objective of this Survey study was to explore the possibility of tourism – oriented conservation for Thung – Yang sub – district, Lablae district, Uttaradit province. This focused on the environment, culture, tradition, local wisdom temples, and natural attractions. A set of questionnaires and interview schedules were used for data collection administered with 120 local people and 50 tourists visiting Thung – Yang sub – district. Obtained data were analyzed for finding percentage and mean. Concepts and principles were investigated to support the study. Nowadays, tourism – oriented conservation in Thung – Yang sub _ district is not systematic in terms of 3 aspects: 1) tourism resources; 2) tourism management and
services; and 3) tourism marketing concerning with tourists, entrepreneurs, and local people. This is particularly on the second and third aspects. Thus, all of the three aspects
must be continually developed all together for complete tourist attractions.Results of the study revealed that there was a high tendency for the possibility to develop tourism – oriented conservation for Thung – Yang Sub – district. This was because it riched of unique culture, tradition, local wisdom and sanctuaries. Therefore, it was expected that tourists would visit Thung – Yang sub – district the whole year if interesting tourism programs could be done by village committees, concerned personnel, and tourism entrepreneurs

Article Details

บท
บทความวิจัย