กระบวนการจัดการเพื่อรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ บ้านหนองมณฑา อ าเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

นฤมล ลภะวงศ์ และคณะ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

งานวิจัยเชิงคุณภาพ นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการจัดการเพื่อรักษาอัตลักษณ์ทาง

วัฒนธรรมของชุมชนบ้านหนองมณฑา (มอวาคี) รวมทั้งศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดการ

เพื่อรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอในชุมชนบ้านหนองมณฑา (มอวาคี)

ต าบลแม่วิน อ าเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ท าการศึกษาโดยวิธีการรวบรวมเก็บข้อมูลจากภาค

เอกสารและภาคสนาม แล้วท าการวิเคราะห์เชิงพรรณนา

ผลการศึกษา พบว่า ชุมชนบ้านหนองมณฑา (มอวาคี) มีกระบวนการสร้างข้อตกลงร่วมกัน มี

การก าหนดบทบาทหน้าที่ของคนในชุมชน ตลอดจนจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนในชุมชนเป็นตัว

ขับเคลื่อนให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ

กระบวนการจัดการเพื่อรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอในชุมชนบ้านหนอง

มณฑา ประกอบด้วย ปัจจัยภายในชุมชน มีผู้รู้ และผู้อาวุโสเป็นกลุ่มบุคคลที่ส าคัญในการขับเคลื่อน

การรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชน ส่วนปัจจัยภายนอกมีหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน เข้า

มามีส่วนร่วมการรักษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมวิถีชีวิตแบบปกาเกอะญออย่างต่อเนื่อง

Abtract

The purposes of this qualitative research were to study the management process

for retaining the cultural identity of Ban Nong Monta (Morwakhi) community, including the

factors that related to the management process for retaining the cultural identity of Pga

K’nyau ethnic group in Ban Nong Monta (Morwakhi) MaeWin, Mae Wang district, Chiang Mai

province. Data were collected from the community key informants, and documentary

analysis, then, analyzed descriptively.

The research found that Ban Nong Monta (Morwakhi) community had had the

consensus process on any common agreement. It determined the local people’s roles and

responsibilities, by using the local school to drive the people involvement in retaining the

cultural identity of Ban Nong Monta (Morwakhi) community, The factors that related to the

management process for retaining the cultural identity of Pga K’nyau ethnic group in Ban

Nong Monta (Morwakhi) consisted of the community internal factors. Those were local

scholars and seniors as the key persons to retain the cultural identity. The external factors

consisted of various government and private agencies, involved in conserve and retain the

Pga K’nyau culture continuously.

Article Details

บท
บทความวิจัย