การใช้พลังงานทดแทนในกลุ่มชาติพันธุ์ อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • Pattarawan Cahwa มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

พลังงานทดแทน, กลุ่มชาติพันธุ์, ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการใช้พลังงานทดแทนของกลุ่มชาติพันธุ์ อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ และ 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคการใช้พลังงานทดแทนของกลุ่มชาติพันธุ์ อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยครั้งนี้เป็น การวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามพระราชดำริ (ดอยฟ้าห่มปก) ผลการวิจัย พบว่า1) แนวคิดและการจัดการในพื้นที่พลังงานน้ำจึงเป็นทางเลือกที่สำคัญที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่เพราะเป็นแหล่งน้ำ การที่มีทรัพยากรน้ำ ในการอาศัยน้ำยังสามารถใช้เป็นแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเป็นอย่างดี นอกจากนี้การใช้พลังงานทดแทนจากพลังงานน้ำ จะเป็นกลวิธีหนึ่งของในการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ   2) ปัญหาและอุปสรรค พบว่า ขาดการทำประชาพิจารณ์สำรวจความต้องการประชาชนการให้องค์ความรู้และวิธีบำรุงรักษา การซ่อมบำรุงโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ นอกจากนี้ยังเกิดจากปัญหาทางธรรมชาติที่เกิดจากปริมาณน้ำฝนที่ตกชุกในช่วงฤดูฝน จะเกิดการสะสมตะกอน ทราย หิน หน้าฝายและส่งต่อแรงดันน้ำ ส่งผลให้ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ ตลอดจนการเก็บรอบรวมข้อมูล การติดตาม ประเมินผลที่ไม่ต่อเนื่องและไม่มีการบักทึกเป็นหลักฐานที่ชัดเจนในการใช้พลังงานทดแทนอย่างยั่งยืน

References

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (2560). โครงการพลังน้ำขนาดเล็กอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. แหล่งที่มา: https://www.egat.co.th/index. php?option=com_ content&view=article&id=1 707&catid=49&Itemid=251. (29 กรกฎาคม 2560).
The Electricity Generating Authority of Thailand. (2017). Royal Small Hydropower Project. Source: https://www.egat.co.th/index.php?option =com_content&view=article&id =1707&catid=49&Itemid=251. [July 29, 2017].
เจ้าหน้าที่ป่าไม้. (2561). สัมภาษณ์, 30 กรกฎาคม.
Forestry Officer. (2018). Interview, 30 July.
เจ้าหน้าที่หัวหน้าหน่วยพิทักษ์อุทยาน. (2561). สัมภาษณ์, 25 กรกฎาคม.
Chief Officer, Defender Park. (2018). Interview, 25 July.
ณิชยารัตน์ พาณิชย์. (2014). แนวทางการบริหารจัดการพลังงานหมุนเวียนในระดับชุมชนของประเทศไทย.วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม, 10(1), 55-76.
Panit, N. (2014). Guidelines for Renewable Energy Management in Community of Thailand. Journal of Environmental Management, 10(1), 55-76.
ทศพนธ์ นรทัศน์. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) กับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาเซียน. แหล่งที่มา: http://thaingo.org/web/2011/06/21. [29 กรกฎาคม 2560].
Narathat, T. (2017). The 11th National Economic and Social Development Plan [2012-2016] and Preparation for the ASEAN Community, Source: http://thaingo.org/web/2011/ 06/21. [July 29, 2017].
รัฐฐาน์ ฤทธิเกริกไกร. (2552). การจัดระบบการจัดการพลังงาน. แหล่งที่มา: http://www.teenet.chiangmai.ac.th. (20 พฤษภาคม).
Rittikroekkrai. (2012). System Power Management. Source: http://www.teenet. chiangmai.ac.th. (May 20, 2002).
พระครูสังฆรักษ์ทรงพรรณ ชยทตฺโต. (2560). วัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของกลุ่มชาติพันธุ์ไทย-มอญในจังหวัดราชบุรี. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 5(1), 66-77.
Phrakhrusangharak Songphan Jayadatto. (2017). Buddhism Culture for Peaceful Coexistence of Thai-Mon Ethnic Group in Ratchaburi Province. Journal of MCU Peace Studies, 5(1), 66-77.
พรวิวาห์ กึกก้อง. (2561). สถานการณ์พลังงานของโลกและแห่งประเทศไทย. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/resourcemanagemen00/sthankarnphlangngan-khxng-lok-laea-khxng-prathesthiy. (July 29, 201).
Kuakkong, P. (2017). Energy Situation of the World and of Thailand. Source: https://sites.google.com/site/resourcemanagemen00/sthankarnphlangngan-khxng-lok-laea-khxng-prathesthiy. [July 29, 2018].
วิสาขา ภู่จินดา. (2556). การบริหารจัดการพลังงานหมุนเวียนเพื่อผลิตพลังงานใช้ในระดับชุมชนและระดับครัวเรือน: กรณีศึกษา ชุมชนเกาะพะลวย. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม, 9(2), 45-64.
Phoochinda, W. (2013). The Management of Renewable Energy Production at the Household and Community Levels: A Case Study of Phaluai Island in Thailand. Journal of Environmental Management, 9(2), 45-64.
สุธน จิตร์มั่น. (2561). แนวทางการบริหารกองทุนพัฒนาไฟฟ้าเพื่อพัฒนาชุมชน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 6(3), 1130-1114
Jitman, S. (2018). Guidelines for the Management of the Power Development Fund for Community Development. Journal of MCU Peace Studies, 6(3), 1130-1114.
สุภัฐวิทย์ ธารชัย. (2560). การบูรณาการหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนาชุมชน. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 4(2), 86-97.
Tanchai, S. (2017). Integration of Buddhist Principles for Community Development. Journal of Graduate MCU Kkonkaen Campus, 4(2), 86-97.
สหัทยา วิเศษ และชัยวัฒน์ จันธิมา. (2559). แนวทางการกําหนดธรรมนูญการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยวิธีการสานเสวนา : กรณีศึกษากว๊านพะเยา, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 4(2), 38-56.
Wises, S. and Chantima, C. (2016). The Procedure to Formulate the Charter on Natural Resource Management by Public Deliberation: Case study on Phayao Lake. Journal of MCU Peace Studies, 4(2), 38-56.
อุ่นเรือน เล็กน้อย. (2560). แนวทางการขับเคลื่อนชุมชนกึ่งเมือง สู่การเป็นชุมชนรักษ์โลก: ชุมชนวิถีคาร์บอนต่ำ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 5(2), 56-74.
Leknoi, U. (2017). Suburban community to Green Community Driven Guideline: Low Carbon Community. Journal of MCU Peace Studies, 5(2), 56-74.
ThaiBiotech.info. (2561). พลังงานทดแทน คือ อะไร. แหล่งที่มา: https://www. thaibiotech.info/what-is-alternative-energy.php (29 กรกฎาคม 2561).
ThaiBiotech.info. (2017). What is renewable energy?. Source: https://www. thaibiotech.info/ what-is-alternative-energy.php (July 29, 2017).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

22-11-2018

ฉบับ

บท

บทความวิจัย