การเปรียบเทียบแบบจำลอง CAPM และแบบจำลอง 3 ปัจจัย ในการวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนหลักทรัพย์

Main Article Content

ทัดพงศ์ อวิโรธนานนท์
วีระพงศ์ อุทธารัตน์

Abstract

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อ อัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์โดยใช้แบบจำลอง CAPM และแบบจำลอง 3 ปัจจัย ด้วยการวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนหลักทรัพย์กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม (Indus) เฉพาะกลุ่มย่อยปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ (Petro) และกลุ่มย่อยบรรจุภัณฑ์ (PKG) โดยเก็บข้อมูลจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตั้ง แต่เดือนมกราคม 2552 ถึงเดือนกันยายน 2556 พบว่า เมื่อใช้แบบจำลอง CAPM วิเคราะห์ หลักทรัพย์ทั้ง 2 กลุ่ม พบว่า ปัจจัยความเสี่ยงตลาดมีผลกระทบต่ออัตรา ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ ส่วนแบบจำลอง 3 ปัจจัย อัตราผลตอบแทนของทุก หลักทรัพย์มีความสัมพันธ์กับปัจจัยความเสี่ยงตลาด (Market risk) แต่มีบาง หลักทรัพย์ที่มีความสัมพันธ์กับค่าชดเชยความเสี่ยงจากขนาด (SMB) และ ค่าชดเชยความเสยี่ งจากมูลค่าตามบัญ ชี (HML) ซึ่งการใช้แบบจำลอง 3 ปัจจัยจะ ให้ผลการวิเคราะห์ที่แม่นยำกว่าการใช้แบบจำลอง CAPM โดยให้ค่า R square ที่ สูงกว่าทั้งหมด

 

A COMPARISON BETWEEN CAPM AND THE THREEFACTOR MODELS IN ANALYSING STOCK RETURNS

This study aims to study and compare factors those affect the stock returns using the CAPM model and the three-factor model for stocks in the Industry (Indus) group, particularly Petrochemical and Chemical (Petro) and Package (PKG) sub-groups. The data is collected from the Stock Exchange of Thailand between January 2009 and September 2013. This study finds that when using the CAPM model, the market risk premium has an effect on all stock returns. For the three-factor model, however, all stock returns depend on the market risk premium, while the value and size premiums could have an effect on some stock returns. This study also finds that the three-factor model could provide more accurate results than the CAPM model with a higher R square value for all stocks.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)