‘Representation of Women were single in Thai Films’

Main Article Content

อัญมณี ภักดีมวลชน

Abstract

 The objective of this research is to study how the movie, title: 30+ (Single On Sale) and title: 30 Kam Lung Jaew construct image of the single women by applying the analysis of cultural studies, concept of making of representation, including the concept of storytelling in the movie to analyze. By the way, the movies were selected purposively, which is the one contains image of single women as the main story line. The analysis result revealed that the movie “30+ (Single On Sale)” and “30 Kam Lung Jaew” construct the images of the single women as follows: 1. Woman broken-hearted from the one who had associated with for 7 years; 2. The single women having good career in Thai society; 3. The single women with good-looking and fashionable dresses; 4. The single women aged 32 years, good-looking, and with a dignified look; 5. The single women who wish to have a family and get married, and: 6. The single women, no matter how much they have self-confidence, still need a man to rely on.

Article Details

How to Cite
ภักดีมวลชน อ. (2018). ‘Representation of Women were single in Thai Films’. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University, 7(2), 87–103. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmscrru/article/view/127151
Section
Research Articles
Author Biography

อัญมณี ภักดีมวลชน

* บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง “ภาพของผู้หญิงสถานภาพโสดที่ปรากฏในภาพยนตร์ไทย” ซึ่งได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สถานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2555 โดยมี ผศ.ดร.คมสัน รัตนะสิมากูล เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ** วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต (ว.ม.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำสาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

References

หนังสือ
กาญจนา แก้วเทพ. (2544). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. _______________.(2548). “ทฤษฎีวาด้วยเนื้อหา/สาร ละความหมาย.” ประมวลวิชา ปรัชญา นิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสารมวลชน. หน่วยที่ 12. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช _______________. (2541). สื่อสารมวลชน : ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์. กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎี เศรษฐศาสตร์ การเมืองกับสื่อสารศึกษา. นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมสุข หินวิมาน.(2548). “แนวคิดเรื่องภาพตัวแทน.” ใน ปรัชญานิเทศศาสตร์และทฤษฎี การสื่อสาร = Philosophy of communication arts and communication theory. หน้า 426-428. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วิทยานิพนธ์
จรินทร์ เลิศจิระประเสริฐ.(2535). “อาชีพของสตรีในละครโทรทัศน์.” วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นิรินทร์ เภตราไชยอนันต์. (2550). “ภาพตัวแทนผีผู้หญิงในละครโทรทัศน์.” วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปภัสรา ศิวะพิรุฬห์เทพ. (2548). “การถอดรหัสมายาคติของ ‘การข่มขืน: ศึกษาเปรียบเทียบผู้รับสารที่มีประสบการณ์ตรงกับผู้รับสารที่มีประสบการณ์ผ่านสื่อ.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. รุจิเรข คชรัตน์. (2542). “ภาพและกระบวนการสร้างภาพชายรักร่วมเพศในละครโทรทัศน์ ไทยกับการรับรู้ ภาพแบบฉบับของผู้ชม . วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รักใจ จินตวิโรจน์. (2543). “การนำเสนอภาพชายรักร่วมเพศในภาพยนตร์ไทยและอเมริกัน.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.รัชดา แดงจำรูญ. (2538). “ภาพของโสเภณีในละครโทรทัศน์ ปี 2537.” วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิชชา สันทนาประสิทธิ์. (2543). “การนำเสนอภาพความเป็นชายในภาพยนตร์ไทยระหว่าง ปี พ.ศ. 2541-2542.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. วิภาภรณ์ กอจรัญจิตต์. (2545). “การวิเคราะห์ภาพเสนอ ‘ความขาว’ ในโฆษณา.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. ศิริมิตร ประพันธ์ธุรกิจ. (2551). “ความสัมพันธ์ไทย-ลาว ในสื่อบันเทิงไทย : ศึกษากรณี การประกอบสร้างอัตลักษณ์ความเป็นลาวจากภาพยนตร์ เรื่อง ‘หมากเตะโลก ตะลึง’.” วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สุภา จิตติสารัตน์. (2545). “การสร้างความหมายทางสังคมและการรับรู้ “ความเป็นจริง” ในภาพยนตร์ อิงเรื่องจริง.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุณิสา จันทรบูรณ์. (2539). “การรับรู้ภาพของครอบครัวผ่านละครโทรทัศน์.” วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อภิรัตน์ รัทยานนท์. (2547). “กระบวนการสร้างความจริงทางสังคมของตัวละครนางร้ายในละครโทรทัศน์. ”วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. อัญมณี ภู่ภักดี. (2547). “การตีความของผู้รับสารชายไทยต่อภาพของวีรบรุุษแบบอเมริกัน จากภาพยนตร์ ฮอลลีวู้ด.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาษาอังกฤษ
Hall, S. Representation : Cultural Representations and Signifying Practices, London : Sage, 1997.