Assessment of Chemical Hazard from Decoration Firing Kiln in a Benjarong Porcelain Manufacturing Community Enterprise

Authors

  • Pakinee Rutchapan Mahidol University
  • Aronrag Cooper Meeyai Mahidol University.
  • Sara Arphorn Mahidol University.
  • Chaiyanun Tangtong Mahidol University.

Keywords:

Benjarong porcelain, kiln emission, decoration firing, chemical hazard, เครื่องเบญจรงค์, มลพิษจากเตาเผา, การเผาหลังตกแต่ง, อันตรายจากสารเคมี

Abstract

Assessment of Chemical Hazard from Decoration Firing Kiln in a Benjarong Porcelain Manufacturing Community Enterprise

Benjarong porcelain is a unique Thai pottery. It represents the art and culture of Thailand for hundreds of years. The decorating pattern uses various colors, including metal oxide, glue and gold paint.  In the firing process, chemical emissions are produced from the kiln, which have not been studied before. From the literature review, the potential pollutants comprise hydrogen cyanide, formaldehyde, metal fumes and flue gases. This study assessed the type and concentration of chemicals emitted from Benjarong decoration firing kiln. One voluntary Benjarong enterprise, using regular decoration firing, was selected as the study site. Air samples were collected and analyzed for hydrogen cyanide, formaldehyde, heavy metals, i.e., lead (Pb), nickel (Ni) and cadmium (Cd) and flue gases inside, beside and behind the kiln storage room, respectively. The result showed that all chemical concentrations were lower than the Occupational Exposure Limit (OEL) of the U.S.OSHA standard. However, the maximum concentration of Pb was quite close to the OEL standard value at 0.044 mg/m3 showing that the greatest health risk in Benjarong production is Pb exposure.

การประเมินการสัมผัสอันตรายจากสารเคมีในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตถกรรมเครื่องเบญจรงค์

เครื่องเบญจรงค์เป็นเครื่องปั้นดินเผาที่มีความเป็นเอกลักษณ์ แสดงถึงศิลปะและวัฒนธรรมของประเทศไทยที่สั่งสมมายาวนาน การตกแต่งลวดลายจะใช้สีต่างๆที่มีส่วนประกอบของออกไซด์ของโลหะ กาว และน้ำทอง  จากนั้นจะนำไปเผาปัจจุบันยังไม่มีงานวิจัยเกี่ยวกับชนิดและความเข้มข้นของสารมลพิษจากการเผานี้ การทบทวนวรรณกรรมของงานเซรามิกที่คล้ายคลึงกันพบว่า สารมลพิษคือ สารไฮโดรเจนไซยาไนด์ ฟอมัลดีไฮด์ ฟูมโลหะ และแก๊สเผาไหม้ จึงนำสู่วัตถุประสงค์ของงานวิจัยคือ ศึกษาชนิดและความเข้มข้นของสารมลพิษจากเตาเผาเครื่องเบญจรงค์ในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องเบญจรงค์ 1 กลุ่ม โดยเลือกจากความสมัครใจและมีการเผาเครื่องเบญจรงค์เป็นประจำ และเก็บตัวอย่างอากาศเพื่อวิเคราะห์หาสารไฮโดรเจนไซยาไนด์ ฟอมัลดีไฮด์ ฟูมโลหะ (ตะกั่ว, นิกเกิล, แคดเมียม) และแก๊สเผาไหม้ ในบริเวณ3 จุดคือ บริเวณในห้อง ข้างห้อง และหลังห้องเก็บเตาเผา ผลของงานวิจัย พบว่า ความเข้มข้นทั้งหมดเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานของ OHSA ไม่มีสารใดเกินค่ามาตรฐาน อย่างไรก็ตามความเข้มข้นสูงสุดของตะกั่วมีค่าใกล้เคียงกับค่ามาตรฐานมากคือ 0.044 มก/ลบ3 ดังนั้นพนักงานในกลุ่มเครื่องเบญจรงค์จึงมีความเสี่ยงด้านสุขภาพในการสัมผัสสารตะกั่ว

Author Biographies

Pakinee Rutchapan, Mahidol University

Department of Occupational Health and Safety , Faculty of Public Health.

Aronrag Cooper Meeyai, Mahidol University.

Department of Epidemiology, Faculty of Public Health.

Sara Arphorn, Mahidol University.

Department of  Occupational Health and Safety, Faculty of Public Health.

Chaiyanun Tangtong, Mahidol University.

Department of  Occupational Health and Safety, Faculty of Public Health.

Downloads

Published

2017-12-30

Issue

Section

Original Articles