การสำรวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว

Authors

  • สายสุนีย์ เบ็ญจโภค National Institute for Child and Family Development, Mahidol University. 999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Nakhon Pathom 73170

Abstract

A Survey of Member Affiliation of the National Institute for Child and Family Development (NICFD) Organization

การส ารวจความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวมี วัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร 2. ศึกษาปัจจัยด้านประสบการณ์ในการท างาน ของบุคลากร 3. ศึกษาเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ท่มีีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกนั และ 4. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การกับปัจจัยด้าน ประสบการณ์ในการท างานของบุคลากรสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย เชิงส ารวจ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจ านวน 92 คน การก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างท าโดย ใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane) ระดบั ความเช่ือม่ัน 95% และค่าความคลาดเคล่ือน 5 % สถิติท่ใีช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังน้ีส่วนท่ี1 สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ความถ่ีและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ส่วนท่ี2 การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ อ้างอิงชั้นสูง ได้แก่ การทดสอบที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) และ การวิเคราะห์สมั ประสทิธ์สิหสมั พันธเ์พียร์สนั (Pearson’s Correlation Coefficient) โดยก าหนดระดับนัยส าคัญทาง สถิติท่รีะดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรโดยรวมอยู่ในระดับมาก ระดับ ความคิดเห็นของบุคลากรต่อปัจจัยด้านประสบการณ์ในการท างานโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนการเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรกับความผูกพันต่อองค์การ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้าน สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อายุงาน ประเภทของบุคลากร ระดับเงินเดือน ตา แหน่งบริหาร และสงักดังาน ท่ี แตกต่างกันจะมีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p < 0.05) และจากการศึกษาความ สัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การกับปัจจัยด้านประสบการณ์ในการท างานทุกด้าน พบว่ามีความสัมพันธ์เชิง เส้นในทิศทางเดียวกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p < 0.05)

Downloads

Published

2016-08-22