Communication Strategies for Create Value Added of Ethnic Traveling Sources in Chiang Rai Province

Main Article Content

ผศ.ดร.เสริมศิริ นิลดำ
จิราพร ขุนศรี

Abstract

The research aimed to study the communication strategies used to create value added of ethnic traveling sources in Chiang Rai province. The research methodology used for the study was qualitative by focus group discussion and non-participant observation.  The results of the study showed that the communication strategies used to create value added of ethnic traveling routes in these three areas consist of 5 strategies which are 1) local community communication 2) channels of communication strategy 3) content communication strategy 4) participatory communication strategy and 5) communication in strategic alliance.

Article Details

Section
Articles
Author Biography

ผศ.ดร.เสริมศิริ นิลดำ

รองคณบดีด้านจัดการศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ประธานหลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิตและนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

References

กรกนก เกิดสังข์ และณัฐมน ราชรักษ์. (2560). การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเชิงกลยุทธ์ กรณีศึกษา ตำบลบางใบไม้ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 4(2), 231- 249.

เกศกนก ชุ่มประดิษฐ์ และจิราพร ขุนศรี. (2560). การวิเคราะห์อัตลักษณ์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดเชียงราย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 12(2), 121-143.

โฆษิต ไชยประสิทธิ์. (2554). ความหลากหลายทางชาติพันธุ์กรณีศึกษาชุมชนในสถานีเกษตรอ่างขาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่.

จิระวัฒน์ อนุวิชชานนท์ และปณิศา มีจินดา. (2555). แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับตราและการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ตามเส้นทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่ม แม่น้ำโขงตอนบน: กรณีศึกษา ประเทศไทย (เชียงราย/เชียงแสน) สาธารณรัฐ แห่งสหภาพพม่า (เชียงตุง) สาธารณรัฐประชาชนจีน (เชียงรุ้ง) สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว (เชียงทอง หลวงพระบาง). รายงานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

ณัฐนันท์ วงษ์ประเสริฐ. (2557). กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวงานประเพณีรับบัว ของอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์. 3(2), 1-18.

ทวีพร นาคา, สิทธิชัย พรหมสุวรรณ, เสรี วงษ์มณฑา และธาดากร ธนาภัทรกุล. (2560). กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวในเขตภาคใต้ตอนบน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์. มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, 5(3), 290-304.

เมธา ฤทธานนท์. (2550). การตลาดฉบับคอตเลอร์. กรุงเทพฯ: พิมเณศพริ้นติ้งเซ็นเตอร์.

วารัชต์ มัธยมบุรุษ. (2552). รูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวสำหรับนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่นที่พำนักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

สราวุธ อนันตชาติ. (2549). Ad@chula on contemporary views on advertising. กรุงเทพฯ : สาขาการโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสริมศิริ นิลดำ, กษิดิศ ใจผาวัง, จิราพร ขุนศรี, เบญจวรรณ เบญจกรณ์, ศิริพรรณ จีนะบุญเรือง, นิเวศ จีนะบุญเรือง และพีรญา ชื่นวงศ์. (2560). การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวตามรอยชาติพันธุ์ในจังหวัดเชียงราย. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(1), 26-37.

สำนักท่องเที่ยวโดยชุมชน องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2561). คู่มือเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน. วันที่เข้าถึงข้อมูล 12 มกราคม 2562, แหล่งที่มา https://www.dasta.or.th/dastaarea7/attachments/article/228/SAR.pdf

Cohen, E. (1979). A Phenomenology of Tourist Experience. Sociology, 13, 179-201.

Duncan, T. (2005). IMC : Using Advertising and Promotion to Build Brands. New York : McGraw Hill.

Shimp, T. A. (2000). Advertising & Promotion : Supplemental Aspect of Integrated Marketing Communication. 5th ed. Fort Worth ,TX : Dryden Press.

Schultz, D. and Schultz, H. (2004). IMC The Next Generation. New York: MaGraw-Hill.

Wood, M. B. (1997). Clear IMC Goals Build Relationships. Marketing News. 31(13), 11-15.