ระบบการเลือกตั้งกับการเมืองไทย

ผู้แต่ง

  • บุรฉัตร จันทร์แดง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ระบบการเลือกตั้ง, การเมืองไทย

บทคัดย่อ

ประเทศไทยได้ใช้ระบบการเลือกตั้งมาแล้วหลายรูปแบบ ทั้งแบบแบ่งเขตเรียงเบอร์ แบบแบ่งเขต เบอร์เดียว แบบมีและไม่มีบัญชีรายชื่อ แบบบัญชีรายชื่อเดียวและแบบบัญชีสัดส่วน ซึ่งการเลือกตั้งสองแบบนี้ เริ่มใช้มาตั้งแต่รัฐธรรมนูญปี 2540 นอกจากนี้ยังมีเงื่อนไขอื่นๆ เช่น แบบกำหนดและไม่กำหนดให้ผู้สมัครต้องสังกัดพรรคการเมือง แบบควบรวมพรรคได้และห้ามควบรวมพรรคที่มีผู้แทนเข้าด้วยกันกับแบบให้ผู้แทนเปลี่ยนพรรคได้และห้ามเปลี่ยนพรรคสังกัด ต้องยอมรับว่าไม่มีระบบการเลือกตั้งใดหรือข้อกำหนดใดจะสมบูรณ์แบบที่สุด การจะเลือกใช้ระบบเลือกตั้งใด จึงเป็นความท้าทายในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งต้องคำนึงถึงบริบทต่างๆ เพื่อออกแบบระบบการเลือกตั้งที่เหมาะสมกับประเทศไทยให้มากที่สุด

Author Biography

บุรฉัตร จันทร์แดง, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

รัฐประศาสนศาสตร์

References

กังวาล ทองเนตร. (2546). รัฐศาสตร์การปกครอง. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ตระกูล มีชัย. (2546). รายงานฉบับสมบูรณ์ การศึกษารวบรวมข้อมูลด้านการเมืองการปกครองไทย เรื่อง การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย ส่วนที่หนึ่ง แนวนโยบายของรัฐ เกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ตระกูล มีชัย. (2546). รายงานฉบับสมบูรณ์ การศึกษารวบรวมข้อมูลด้านการเมืองการปกครองไทย เรื่อง การเมือง การปกครองท้องถิ่นไทย ส่วนที่สาม การเลือกตั้งท้องถิ่น.กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. ตระกูล มีชัย. (2546). รายงานฉบับสมบูรณ์ การศึกษารวบรวมข้อมูลด้านการเมืองการปกครองไทย เรื่อง การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย ส่วนที่ห้า เอกสารวิชาการและงานวิจัย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2540). 100 ปีการปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. 2440-2540. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2538). กฎหมายมหาชน เล่ม 3 ที่มาและนิติวิธี. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์นิติธรรม.
ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2555). การเมืองว่าด้วยการเลือกตั้ง: วาทกรรม อำนาจ และพลวัตชนบทไทย. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.
พิสิษฏ์ นาสี และชัยพงษ์ สำเนียง. (2556). “การเลือกตั้ง: การสร้างเครือข่ายและสายใยความสัมพันธ์ในการเมืองระดับท้องถิ่น.”วารสารสถาบันพระปกเกล้า 10, 3 (กันยายน-ธันวาคม):77-109.
เพียงกมล มานะรัตน์. (2547). การเมืองเรื่องการเลือกตั้ง: ศึกษากรณีการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีของเทศบาลนครเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2547. วิทยานิพนธ์รัฐศาตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรวุฒิ แพชนะ. (2550). พฤติกรรมการไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาล ศึกษาเฉพาะกรณีของเทศบาลหลังสวน จังหวัดชุมพร. รายงานการศึกษาอิสระ ปริญญา
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อรทัย ก๊กผล. (2547). สารานุกรมการปกครองท้องถิ่นไทย หมวดที่ ๓ พัฒนาการและรูปแบบการปกครองท้องถิ่นไทย ลำดับที่ ๕ เรื่อง กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. การเลือกตั้งท้องถิ่น. สถาบันพระปกเกล้า. เข้าถึงจาก : http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=การเลือกตั้งท้องถิ่น.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2545). ประชาธิปไตยท้องถิ่น: สาระสำคัญของการเมืองและการปกครองส่วนท้องถิ่น.นนทบุรี: สำนักพิมพ์มิติใหม่, หน้า 25-28.
แอนดรูว์เรย์โนลด์สฺและคณะ. (2555). การออกแบบระบบเลือกตั้ง: คู่มือเล่มใหม่ของ International IDEA (สกุล สื่อทรงธรรม และอรวรรณ ยะฝา, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: เบสท์กราฟิค.
Funatsu, Tsuruyo. (2003). Changing Local Elite Selection in Thailand; Emergence of New Local Government Presidents after Direct Elections and Theirs Capabilities. IDE Discussion Paper No. 411, Institute of Developing Economies.
Marschall, Melissa J. (2010). “The Study of Local Elections in American Politics,” In Jan E. Leighley, ed. The Oxford Handbook of American Elections and Political Behavior. Oxford: Oxford University Press, Chapter 25.
Marschall, Melissa, Paru Shah and Anirudh Ruhil, (2011). “The Study of Local Elections: A Looking Glass into the Future,” PS: Political Science and Politics 44, 1: 97-100.
Rallings, Colin and Michael Thrasher. (1997). Local Elections in Britain, New York: Routledge.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2019-06-30