ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคต่อธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

กรณีศึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

ผู้แต่ง

  • สุธนา ณ นคร กรมทางหลวง

คำสำคัญ:

1) ความเชื่อมั่น 2) ผู้บริโภค 3) ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 4) ปัจจัยภูมิหลัง 5) การฉ้อโกง

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

ในโลกยุคปัจจุบันที่เทคโนโลยีและอินเตอร์เน็ตมีความสำคัญกับชีวิตประจำวัน ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับการยอมรับ เป็นที่รู้จักและมีบทบาทมากขึ้นในสังคมยุคปัจจุบัน คนส่วนใหญ่หันมาเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ เนื่องด้วยสภาพสังคมที่เร่งรีบ ผู้บริโภคมีเวลาเลือกซื้อสินค้าน้อยลง มีช่องทางการชำระเงินมากมายที่สะดวก รวดเร็ว และผู้บริโภคสามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้ง่ายมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนทำให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับความนิยมแพร่หลายและเติบโตอย่างรวดเร็ว อีกทั้งรัฐบาลให้ความสำคัญกับนโยบาย Thailand 4.0 กระตุ้นให้ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เติบโตอย่างมีคุณภาพ ดังนั้นความเชื่อมั่นของผู้บริโภคถือเป็นหัวใจสำคัญที่จะทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบผลสำเร็จ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่อมั่นต่อธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และระดับความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่มีต่อธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนเพื่อแสวงหาแนวทางที่จะส่งเสริมมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการฉ้อโกงในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

 

 

References

รายการอ้างอิง
กัลยา ลี่เจี๊ยะ. (2556).กระแสโลกาภิวัฒน์.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559, จาก
http://is2globalization.blogspot.com/2013/03/globalization.html.
กาญจนวรรณ จารุพัฒนากุล. (2553). การศึกษาความเชื่อมั่นบริการชำระสินค้าผ่านระบบมือ
ถือและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเชื่อมั่น, วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กิตติ ภักดีวัฒนะกุลและทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. (2547).คัมภีร์การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(E-COMMERCE).กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์แอนด์ คอนซัลท์.
กิตติ สิริพัลลภ. (2543). การตลาดอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Marketing), วารสาร
บริหารธุรกิจ 87,(กรกฎาคม-กันยายน หน้า : 43-56).
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2554). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระยะ พ.ศ.2554-2563 ของประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่1: กรุงเทพฯ.
เครือข่ายกฎหมายมหาชนไทย. (2557).พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ.
๒๕๔๕.สืบค้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2559,จากhttp://www.pub-law.net/library/act_drsale.html.
จำลองลักษณ์ อินทวัน. (2558).ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของประชาชนในกระบวนการ
ยุติธรรมทางอาญา, วารสารกระบวนการยุติธรรม ปีที่ 8 เล่มที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม: 48-50
ฉัทปณัยรัตนพันธ์. (2547). อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ : ศึกษาการกำหนดฐานความผิด
และการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์:สารนิพนธ์นิติศาตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชนาธิป อ่อนหวาน. (2553). ความรู้ความเข้าใจและทัศนคติที่มีผลต่อแนวโน้มพฤติกรรมการ
ซื้อสินค้าที่มีฉลากคาร์บอนของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร,ปริญญานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ตลาดของไทยคืออะไร.สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2559, จาก
http://guru.sanook.com/984/.
ธนพล สมัครการ. (2550). ความรู้ความเข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหลังเข้าร่วมโครงการ
ประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ : ศึกษากรณีผู้เข้าอบรมพลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ กรมขนส่งทาง อากาศ กองบัญชาการสนับสนุนทหารอากาศ, ภาคนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
นัยนรัตน์ งามแสง,ร.ต.ท.. (2547).อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ : ศึกษาเฉพาะกรณีปัจจัยที่มี
ผลต่อการเกิดปัญหาอาชญากรรมบนอินเตอร์เน็ต, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารงานยุติธรรม), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บก.ปอท. คือหน่วยงานใดและมีหน้าที่อะไร. สืบค้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561, จาก
http://www.wikibuster.org/%E0%B8%9A%E0%B8%81-%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%97-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A1/
ปฐมพงษ์ศิลปสุข, พ.ต.ต. แฉกลลวงเตือนผู้ใช้พึงระวังตกเป็นเหยื่ออาชญากรตุ๋นโลกไซเบอร์.
สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2561, จากhttps://www.thairath.co.th/content/697968.
ปัทมพร คัมภีระ. (2557). พฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางผ่านเว็บไซต์เฟสบุ๊คของนักศึกษา
หญิงในเขตกรุงเทพมหานคร, ปริญญานิเทศศาตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ปัทมาภรณ์ กฤษณายุทธ. (2551). ความผิดฉ้อโกง : ศึกษากรณีการหลอกลวงทาง
อินเตอร์เน็ต, วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปริญญา ปานะกุล. (2544). การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมผู้บริโภคในการ
ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าผ่านเว็บไซต์(Internet), งานวิจัยเฉพาะกรณีวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารโทรคมนาคม), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปริยะ คำพิมเลิศวัฒนะ. วิวัฒนาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.สืบค้นเมื่อวันที่1 เมษายน
2559, จากhttp://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/cit/9_2.html.
ปาริฉัตร ตั้งพันธ์ประเสริฐ. (2550). ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์การกับผลการปฏิบัติงาน
ของพนักงาน : กรณีศึกษาพนักงานของบริษัท เธียรสุรัตน์ จำกัด, สารนิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
เปิดใจวัยโจ๋. สืบค้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561, จาก
http://www.nationejobs.com/content/manage/concept/template.php?conno=181.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550.สืบค้นเมื่อวันที่
8 มิถุนายน 2559, จาก http://www.moi.go.th/image/rule_computer/law-comter1.pdf.
ภานุวัฒน์ กลับศรีอ่อน. (2550).การกำกับดูแลสื่ออินเตอร์เน็ตในประเทศไทย, สารนิพนธ์
วารสารศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มนัสวี ลิมปเสถียรกุล. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบการตัดสินใจของผู้บริโภคสินค้า
ออนไลน์ : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มนักศึกษาและกลุ่มวัยเริ่มต้นทำงาน, การศึกษาอิสระหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการตลาด), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รัฐวัชร์พัฒนจิระรุจน์. (2557).ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค.สืบค้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2559,
จากhttp://poundtv5.blogspot.com/2014/10/theory-of-consumer-behavior.html.
วัชระพงศ์ ยะไวทย์. (2543). กลยุทธ์ทางรอดและความสำเร็จบนe-company.com.,
กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.ตลาด. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2559, จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.โลกาภิวัตน์.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559, จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%8C.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. อินเตอร์เน็ต. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2559, จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B9%87%E0%B8%95.
วิธีการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.สืบค้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2559, จาก
http://www.ireadyweb.com/howtoecommercewebsite.php.
วิวัฒนาการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559,
http://ecommerce.exteen.com/20050511/entry-1.
วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ ร.น.,นาวาตรี ดร.และทีมงานวิชาการ. (2544).E-commerceการค้า
อิเล็กทรอนิกส์ด้วยตัวคุณเอง, กรุงเทพฯ.
ศันย์จุฑา ชินประพันธ์. (2556).ทัศนคติที่มีต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์(E-Commerce) ของ
ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในเขตกรุงเทพมหานคร, รายงานผลการวิจัย, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศิริลักษณ์ โรจนอำนวย,รศ. (2545).ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
แบบธุรกิจกับผู้บริโภคของไทย, รายงานผลการวิจัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศรีวรรณ สวัสดิ์อำไพรักษ์. (2544).การศึกษาความต้องการของผู้บริโภคต่อบริการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, งานวิจัยวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารโทรคมนาคม), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศีลวัต ศรีสวัสดิ์. (2552).ความรู้ความเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้ที่มีภูมิลำเนา
ในเขตกรุงเทพมหานคร, วิทยานิพนธ์วิทยาศาตร์มหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. (2546).รายงานการศึกษาเรื่องทรัสมาร์คในธุรกิจพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์.พิมพ์ครั้งที่1, กรุงเทพฯ : จิรรัชการพิมพ์.
ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน สคบ. 1166. (2556). สืบค้นเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2559, จาก
https://iphonnn.wordpress.com/2013/02/19/%E0%B8%A8%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2-2.
สมเกียรติ ตั้งกิจวาณิชย์. (2542).สถานภาพของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย,
รายงานวิจัย, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย,พฤษภาคม.
สมาคมการขายตรงไทย. การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ตเป็นธุรกิจตลาดแบบตรงที่ต้องจด
ทะเบียนต่อ สคบ.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559, จากhttp://www.tdsa.org/content/485/1/.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน). พระราชบัญญัติว่าด้วย
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2559, จากhttps://www.etda.or.th/files/1/files/26.pdf.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2552).วิเคราะห์สถิติe-commerceเปรียบเทียบไทยกับ
ต่างประเทศ, พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดบางกอกบล็อก.
อับดุลรอฮิม สาเม๊าะ. พฤติกรรมการบริโภคเสื้อผ้ามือสองของเยาวชนมุสลิม. สืบค้นเมื่อวันที่
5 กันยายน 2561, จาก http://dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//00401/Chapter2.pdf.
Boon & Holmes. (1991). The Dynamics of Interpersonal Trust : Resolving
Uncertainity in the face of Risk. Cambridge University Press : 190-211.
Ira Sharkansky. (1970). Policy Analysis in Political Science, Chicago .
Larzelere& Huston. (1980). The Dyadic Trust Scale : Toward Understanding
Interpersonal Trust in Case Relationships. Journal of Marriage and Family 42(3) : 595.
Mayer, Davis &Schoorman. (1995). An Integrative Model of Organizational
Trust. The Academy of Management Review, Vol.20, No.3 (Jul,.1995) : 709-734.
Moorman, Deshpande &Zaltman. (1992). Affecting Trust in Market Research.
Journal of Marketing ,Vol.57,No.1 (Jan.,1993), : 81-101.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2019-06-30