จรรยาบรรณวิชาชีพตามแนวพุทธศาสตร์ : ศีล 5

ผู้แต่ง

  • วรเทพ เวียงแก อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

คำสำคัญ:

จรรยาบรรณวิชาชีพ, ศีล 5,

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

จรรยาบรรณวิชาชีพเป็นสิ่งที่ต้องยึดถือในการปฏิบัติงาน การทำงานภายใต้หลักจรรยาบรรณจะช่วยให้การทำงานและผลการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักวิชา ทำให้เกิดความไว้เนื้อเชื่อใจของทั้งผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ หากการทำงานโดยไม่ยึดหลักจรรยาบรรณวิชาชีพ จะทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน

          ศีล 5 เป็นหลักธรรมที่ผู้ประกอบวิชาชีพต่างๆ ต้องถือปฏิบัติในการทำงานที่สำคัญไม่น้อยไปกว่าจรรยาบรรณวิชาชีพ เพราะศีล 5 มุ่งให้บุคคลผู้ปฏิบัติมีกาย วาจาสงบ ทำให้มีสติในการทำงาน ช่วยให้เกิด เรียบร้อย สงบสุขในสังคม        

          รัฐต้องมีแผนในการส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาทั้งที่เป็นสถาบันเฉพาะทางวิชาชีพหรือทั่วไปให้เน้นการปลูกฝังหลักคุณธรรมแก่ผู้เรียนเพื่อประโยชน์แก่การประกอบอาชีพอย่างสุจริตในอนาคต และจุดแข็งในขณะนี้ คือ มีโรงเรียนวิถีพุทธอยู่ทั่วประเทศ รัฐต้องใช้ให้เป็นประโยชน์ในการปลูกฝังคุณธรรมให้กับเด็กอันเป็นอนาคตของชาติ

 

คำสำคัญ : จรรยาบรรณวิชาชีพ,  ศีล 5,

Author Biography

วรเทพ เวียงแก, อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

วรเทพ เวียงแก สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์

References

พระไตรปิฎก
องฺ. อฎฺฐก.(ไทย) 23/25/269.
ที.ปา. (ไทย) 11/291/228.

หนังสือ
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).(2546). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 11.
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต).(2552). ภูมิธรรมชาวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพ์บริษัทสหธรรมมิก จำกัด.
พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต).(2541). คุณธรรมสำหรับนักบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนิธิ
พุทธธรรม.
ราชบัณฑิตยสถาน.(2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร: ศิริวัฒนา
อินเตอร์พรินท์.
สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน).( 2538). ความจริงที่ต้องเข้าใจ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
มหามกุฏราชวิทยาลัย.
_____________. (2551).วิธีสร้างบุญบารมี. พิมพลักษณ์. กรุงเทพฯ : พิมพ์สวย.

วารสาร
กฤติกา ชนะกุล และคณะ. “การประยุกต์สังคหวัตถุ 4 ในการฝึกภาคปฏิบัติ กรณีศึกษานักศึกษาสาขา
สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย”, วารสารวิชาการแสงอีสาน. ปีที่
15 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2561) : 22.

งานวิจัย
อมร อำไพรุ่งเรือง. (2554). การศึกษาพฤติกรรมการรักษาและการล่วงละเมิดศีล 5 ของพุทธศาสนิกชน
กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อินเทอร์เน็ต
1. www.swpc.or.th/index.php/extras/k2/k2-about/history.../code-of-ethics-swpc-8-7-59/
สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์,จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพสังคมสงเคราะห์, 8 กรกฎาคม 2559,เข้าถึงเมื่อ 21 เมษายน 5660.
2. Teacher Professional Development, จรรยาบรรณในวิชาชีพครู, แหล่งที่มา; https://educ105.
wordpress.com /จรรยาบรรณในวิชาชีพครู/, เข้าถึงเมื่อ 21 เมษายน 5660.
3. “ระวังผิดพ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ รองปลัดยธ.เตือนสื่อนำเสนอข่าวเด็กทำผิด-เป็นเหยื่อ อย่างระมัด
ระวัง”,ประชาชาติธุรกิจออนไลน์, http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid =1492658053, เข้าถึงเมื่อ 21 เมษายน 60.
4. เอกพันธ์ ปัดถาวะโร 8 สิงหาคม 2555.http://aekapan.blogspot.com/2012/08/blog-
post.html, เข้าถึงเมื่อ 25 เมษายน 5660.
5. มติชนออนไลน์ วันจันทร์ที่ 1 พฤษภาคม 2560, เข้าถึงเมื่อ 1 พฤษภาคม 2560.
6. คมชัดลึก ออนไลน์ วันจันทร์ที่ 1 พฤษภาคม 2560, เข้าถึงเมื่อ 1 พฤษภาคม 2560.
7. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4805/2553 แหล่งที่มา: กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา. เผยแพร่เมื่อ: 21 ต.ค.
2554 10:23:32, https://deka.in.th/view-501930.html, เข้าถึงเมื่อ 1 พฤษภาคม 2560.
8. http://news.sanook.com/2193554/, เข้าถึงเมื่อ 2 พฤษภาคม 2560.
9. nursing.reru.ac.th/news/56/25_12_56.PDF, จรรยาบรรณวิชาชีพ สมาคมพยาบาลแหงประเทศ
ไทย พ.ศ. 2528, เข้าถึงเมื่อ 2 พฤษภาคม 2560.
10. www.vitheebuddha.com/main

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-30