วัฒนธรรมองค์การและธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตภาคเหนือ

ผู้แต่ง

  • ประจักษ์ โคชะถา สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
  • พงษ์เทพ จันทสุวรรณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา

คำสำคัญ:

วัฒนธรรมองค์การ, ธรรมาภิบาล, ประสิทธิผลโรงเรียน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับวัฒนธรรมองค์การ ธรร มาภิบาลและประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขต ภาคเหนือ 2) เพื่อศึกษาระดับความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การ ธรรมาภิบาลและ ประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตภาคเหนือและ 3) เพื่อศึกษาระดับอิทธิพลของวัฒนธรรมองค์การและธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคเหนือ โดยใช้วิธีการศึกษาเชิง ปริมาณ ด้วยการวิจัยเชิงสารวจภาคตัดขวาง กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามคือผู้อานวยการ โรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียนและครูผู้ปฏิบัติการสอนจานวน 1,531 คน จากโรงเรียนสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคเหนือ จานวน 351 โรงเรียน ได้มาโดย วิธีการสุ่มโรงเรียนแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) ตามจังหวัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ Pearson (r) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ Phi (ɸ) ค่าอิทธิพล (ƴ) และค่าดัชนี Fit indice ของตัวแบบโดยการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ผลการศึกษา พบว่า 1) ระดับวัฒนธรรมองค์การ ธรรมาภิบาลและประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตภาคเหนือ แต่ละด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับสูง 2) วัฒนธรรมองค์การ ธรรมาภิบาลและประสิทธิผลโรงเรียนในภาพรวมมีความสัมพันธ์ เชิงบวกต่อกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ 3) วัฒนธรรมองค์การมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลโรงเรียนใน ระดับต่าอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (ƴ =0.286, p<.01) และธรรมาภิบาลมีอิทธิพลต่อประสิทธิผล โรงเรียนในระดับสูงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (ƴ =0.675, p<.01) 4) วัฒนธรรมองค์การและธรร มาภิบาลสามารถอธิบายหรือทานายประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตภาคเหนือในระดับสูงมากได้ร้อยละ 90.50 (R2=0.905) และ 5) ตัวแบบสมการ โครงสร้างมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่า χ2 เท่ากับ 501.21 ค่าดัชนี χ2/df เท่ากับ 4.52 ค่าดัชนี RMSEA เท่ากับ 0.10 ค่าดัชนี CFI เท่ากับ 0.99 ค่าดัชนี NNFI (TLI) เท่ากับ 0.98 และค่าดัชนี SRMR เท่ากับ 0.02

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2). กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา.

พร ภิเศก. (2546). วัฒนธรรมองค์การและปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนเหล่าสายวิทยาการของกองทัพบก. วิทยานิพนธ์ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ลาชิต ไชยอนงค์. (2556). ธรรมาภิบาล วัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลองค์การของศาลยุติธรรม: ตัวแบบสมการโครงสร้าง. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยเกริก.

วันเพ็ญ เจริญแพทย์. (2545). การศึกษาพฤติกรรมการบริหารองค์การแห่งการเรียนรู้ของผู้บริหาร โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการศึกษาอำเภอบ้านค่าย จังหวัด
ระยอง. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศรีพัชรา สิทธิกาจร แก้วพิจิตร. (2551). การใช้หลักธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีนิพนธ์บัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สทศ.) (2556). “ค่าสถิติพื้นฐานผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2556”. สืบค้นวันที่ 20 พฤษภาคม 2557. จากhttps://blog.eduzones.com

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). แนวทางการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้คณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
ตามกฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2555). แผนปฏิบัติการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2555. กรุงเทพมหานคร : สกสค.ลาดพร้าว.

_______. (2556). บันทึก Diary สพฐ. 2557 : 2014. กรุงเทพมหานคร : สกสค. ลาดพร้าว.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2555). “การส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี”. สืบค้นวันที่ 10 มกราคม 2556. จาก
http://www.opdc.go.th

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ( สมศ.) (2553). คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (2549-2553) ระดับการศึกษาขั้น
พื้นฐานฉบับสถานศึกษา พ.ศ. 2544. กรุงเทพมหานคร : เม็ทช์พอยท์.

Agere, S. (2000). Promoting Good Govermance: Principle, Practices and Perspective. London: Commonwealth Secretariat.

Bollen, K.A. & Long, J.S. (1993). Introduction in K.A. Bollen & L.S. Long . Testing structural equation models. (pp.1-9). Thousand Oaks. CA: Sage
Publications, inc.

Cameron, K.S. & Quinn, R.E. (1999). Diagnosing and Changing Organizational Culture. Reading, MA: Addison-Wesley.

Harley, B.; Hyman J. & Thompson, P. (2005). Participation and democracy at work : Essaya in hooour of Havie Ramsay. New York : Paalgrave
Macmillan.

Hu, L., & Bentler, P. M. (1999). “Cutoff criteria for fit indexes in covariance structure analysis: Conventional criteria versus new alternatives”
Structural Equation Modeling, 6, 1-55.

Leech, N. L., Barrett, K.C. & Morgan, G.A. (2005). SPSS for intermediate statistics : Use and interpretation. (2nd ed.) Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum.

MacCallum, R. C., Browne, M. W. & Sugawara, H. W. (1996). “Power analysis and determination of sample size for covariance structure modeling.”
Psychological Methods, 1, 130-149.

Schein, E.H. (1991). Organization Culture and Leadership. (2nd ed). San Francisco: Jossey-Bass. Publishers.

Schermelleh-Engel, K., Moosbrugger, H. & Muller, H. (2003). “Evaluating the fit of structural equation models: Test of significance and descriptive goodness-
of-fit measures.” Methods of Psychological Research Online 2003, 8(2), 23-74.

Sergiovanni, Thomas J. (2001). The Principalship: A Reflective Practice Perspective. (4th ed.) Boston: Allyn and Bacon.

Wang, L., Fan, X., & Willson, V.L. (1996). “Effects of nonnormal data on parameterestimates and fit indices for a model with latent and manifest variables:
An empirical study.” Structural equation modeling, 3(3), 228-247.

Wheaton, B., Muthen, B., Alwin, D., F., & Summers, G. (1977). “Assessing reliability and stability in panel models. (Determining model fit)” Sociological
Methodology, 8(1), 84-136.

World Economic Forum. (2013). Global Compectitive Report 2014-2015. Retrieved March 1 2014, form http://www.weforum.org/am13/report/html.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-12-28