ฝุ่นระเบิดปัญหาสาเหตุและแนวทางป้องกันในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • พจน์ ภาคภูมิ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

ฝุ่นระเบิด, แนวทางการป้องกัน, Dust Explosion

บทคัดย่อ

ฝุ่นระเบิด หรือ dust explosion คือปรากฏการณ์ที่สารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ หรือโลหะที่มีขนาดเล็กกว่า 420 ไมครอนฟุ้งกระจายตัวในอากาศที่ระดับความเข้มข้นที่เหมาะสม และถ้าได้รับความร้อนจะสามารถติดไฟและเกิดการระเบิดได้  ฝุ่นระเบิดเกิดขึ้นได้ทั้งในโรงงานอุตสาหกรรมและกิจกรรมต่างๆ เช่น เหตุระเบิดที่สวนน้ำในประเทศไต้หวันเมื่อปี 2558 ทำให้มีผู้บาดเจ็บเป็นจำนวนหลายร้อยคน ปรากฏการฝุ่นระเบิดเกิดขึ้นในหลายๆ ประเทศทั่วโลก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สาธารณรัฐประชาชนจีน แคนนาดา และอินเดีย สำหรับประเทศไทยเองก็มีเหตุระเบิดฝุ่นหลายครั้งในสถานประกอบการต่างๆ ก่อให้เกิดสูญเสียชีวิตของพนักงานและทรัพย์สินเสียหายเป็นจำนวนเงินหลายล้านบาท  ซึ่งแนวทางในการป้องกันฝุ่นระเบิดคือ ป้องกันที่ตัวเชื้อเพลิง(ฝุ่น) ขจัดแหล่งความร้อน ลดก๊าซออกซิเจนในพื้นที่ และป้องกันการฟุ้งกระจายของฝุ่น ดังนั้นจึงควรมีวิธีการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันฝุ่นระเบิดในประเทศไทย

References

กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2553). คู่มือการจัดการความปลอดภัยโรงงานที่มีฝุ่นระเบิดได้. กรุงเทพฯ: ธวิพัฒน์.

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน. (2559). เพลิงไหม้ที่สวนสนุกฟอร์โมโซฟันโคสต์ ประเทศไต้หวัน. ค้นเมื่อ 1 กันยายน 2561,จาก https://www.tosh.or.th/index.php/blog/ item/76-2017-01-10-04-34-36

สำนักเทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2556). ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยสำหรับโรงงานที่มีฝุ่นจากการเกษตรที่ระเบิดได้. กรุงเทพฯ: ธวิพัฒน์.

สำนักเทคโนโลยีความปลอดภัย. (2553). คู่มือการจัดการความปลอดภัยโรงงานที่มีฝุ่นระเบิดได้. กรุงเทพฯ: ธวิพัฒน์.

Abbasi, T., & Abbasi, S. A. (2007). Dust explosions: Cases, causes, consequences, and control. Journal of Hazardous Materials, 140(1-2), 7-44

Amyotte, P. R., & Eckhoff, R. K. (2010). Dust explosion causation, prevention and mitigation: An overview. Journal of Chemical Health and Safety, 17(1), 15-28.

Chanthaphasouk, L. (2015). The study of the risk factors on coal dust explosion in warehouse. Master of Engineering Thesis in Georesources Engineering, Graduate School, Chulalongkorn University.

CSB. (2006). Investigation report. Combustible dust hazard study. Washington, DC: U.S. Chemical Safety and Hazard Investigation Board.

Ebadat, V. (2010). Dust explosion hazard assessment. Journal of loss prevention in the process industries, 23(6), 907-912.

Frank, W. L. (2004). Dust explosion prevention and the critical importance of housekeeping. Process Safety Progress, 23(3), 175-184.

Hassan, J., Khan, F., Amyotte, P., & Ferdous, R. (2014). A model to assess dust explosion occurrence probability. Journal of hazardous materials, 268, 140-149.

Nifuku, M., Tsujita, H., Fujino, K., Takaichi, K., Barre, C., Paya, E., et al. (2006). Ignitability assessment of shredder dusts of refrigerator and the prevention of the dust explosion. Journal of Loss Prevention in the Process Industries, 19(2-3), 181-186.

Yuan, Z., Khakzad, N., Khan, F., & Amyotte, P. (2015). Dust explosions: A threat to the process industries. Process Safety and Environmental Protection, 98, 57-71.

Yuan, Z., Khakzad, N., Khan, F., & Amyotte, P. (2016). Domino effect analysis of dust explosions using Bayesian networks. Process Safety and Environmental Protection, 100, 108-116.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-23

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ