TY - JOUR AU - แยงมาลา, วิลาพรรณ AU - ศุกรเวทย์ศิริ, พรนภา PY - 2017/07/07 Y2 - 2024/03/29 TI - ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความล่าช้าที่เกิดจากผู้ป่วยในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะ พบเชื้อรายใหม่ในนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) JF - วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น JA - KKU J for Pub Health Res VL - 8 IS - 3 SE - นิพนธ์ต้นฉบับ DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/120988 SP - 37-44 AB - <p>การศึกษานี้เป:นการศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงคเพื่อหาปจจัยที่มี<br>ความสัมพันธกับความลาชาที่เกิดจากผูปวยในการรักษาวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม (PTB) ในนคร<br>หลวงเวียงจันทน โดยศึกษาในผูปวยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหม (PTB) ในโรงพยาบาลรัฐ 3 แหง (มโหสด<br>เชดถาทิราด มิตรภาพ) นครหลวงเวียงจันทน ระหวางวันที่ 1 มกราคม 2556 – 31 ธันวาคม 2557 เก็บ<br>ขอมูลโดยใชแบบสอบถาม การสัมภาษณผูปวย และใชแบบคัดลอกขอมูลการรักษาจากเวชระเบียน โดยใช<br>เกณฑของความลาชาในการรักษาที่เกิดจากผูปวย (Patient delay) ที่มีระยะเวลาความลาชามากกวา 30 วัน<br>นับจากวันเริ่มมีอาการปวยครั้งแรกจนเขามารับบริการในสถานบริการสุขภาพของรัฐ หรือ โรงพยาบาล<br>วิเคราะหขอมูลเพื่ออธิบายลักษณะทั่วไปดวยสถิติพรรณนา (รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบนมาตรฐาน) และ<br>วิเคราะหหาปจจัยที่มีความสัมพันธกับความลาชาในการรักษาดวย สถิติถดถอยพหุโลจิสติก (Multiple<br>logistic regression) หาคาความเสี่ยงสัมพันธดวยคา OR และ ORadj ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ รอยละ 95<br>(95% CI)<br>ผลการศึกษาผูปวยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อรายใหมจำนวน 284 คน พบวา 63.6% ของกลุม<br>ตัวอยางเป:นผูหญิง อายุเฉลี่ย 43 ปa ความลาชาที่เกิดจากผูปวย (Patient delay) ที่มีระยะเวลามากกวา 30,<br>45 และ 60 วัน รอยละ 61.6 (95% CI=55.9-43.7), 38.0 (95% CI=32.3-43.7) และ 20.8 (95% CI=16.0-<br>25.5) ตามลำดับ จากการวิเคราะหแบบพหุตัวแปรพบวา ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความลาชาของผูปวย<br>อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value&lt;0.05) ไดแก เพศ พบวาเพศชาย (ORadj=1.56; 95% CI=0.82-2.98)<br>อายุ ≤50 ปa (ORadj=1.09; 95% CI=0.57-2.08) รายไดตอเดือนของผูปวย ≤1,200,000 กีบ (ORadj=2.21;<br>95% CI=1.25-3.91) การแสวงหาการรักษาโดยการซื้อยากินเอง (ORadj=2.33; 95% CI=1.41-3.84)<br>จากผลการศึกษานี้พบวา ผูปวยที่แสวงหาการรักษานอกระบบบริการสาธารณสุขของรัฐ และอยู<br>หางไกลจะมีความลาชา ดังนั้น ควรเพิ่มความตระหนักในเรื่องวัณโรคใหกับประชาชน ผูปวยควรไดรับความรู<br>เพื่อเขารับการรักษาสุขภาพอยางรวดเร็ว ควรมีการพัฒนาระบบการใหบริการผูปวยวัณโรคในโรงพยาบาล<br>ของรัฐใหมีความสะดวกขึ้น สนับสนุนการคนหาผูปวยในเชิงรุก และการตรวจคัดกรองผูปวยวัณโรคในชุมชน<br>เพื่อลดอัตราการตาย และลดการแพรเชื้อวัณโรคในชุมชน</p> ER -