TY - JOUR AU - สกุลคู, พรพรรณ AU - แสงคำ, ศราวุฒิ AU - อรุณเลิศอารีย์, จำลอง PY - 2017/07/07 Y2 - 2024/03/29 TI - สถานที่ฝังกลบมูลฝอยแหล่งแพร่ละอองชีวภาพแขวนลอยสู่บรรยากาศ JF - วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น JA - KKU J for Pub Health Res VL - 7 IS - 3 SE - บทความพิเศษ DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/121141 SP - 1-6 AB - <p>ละอองชีวภาพแขวนลอย (Bioaerosols) จากบริเวณสถานที่ฝังกลบมูลฝอยถือว่าเป็น<br>องค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของมลพิษทางอากาศทางชีววิทยาที่ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กตั้งแต่ที่สามารถ<br>มองเห็น และไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น เชื้อรา แบคทีเรีย ไวรัส และละอองเรณู เป็นต้น ที่ส่งผล<br>ต่อสุขภาพมนุษย์ โดยเฉพาะหากได้รับสัมผัสปริมาณความเข้มข้นสูง อนุภาคขนาดเล็ก ชนิดของละออง<br>ชีวภาพ รวมถึงสารพิษจากเชื้อรา (Mycotoxin)และสารพิษจากแบคทีเรีย (Endotoxin) สามารถส่งผลต่อ<br>โรคระบบทางเดินหายใจ ภูมิแพ้ และหอบหืดได้ ปัจจุบันหลายประเทศในแถบยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย<br>และเอเชียตะวันออก ให้ความสนใจศึกษาแหล่งกำเนิด และการแพร่กระจายละลองชีวภาพแขวนลอยใน<br>อากาศบริเวณสถานที่ฝังกลบมูลฝอย เชื่อว่าเป็นแหล่งที่มีผลต่อคุณภาพอากาศ (ทั้งภายในและนอกอาคาร)<br>ซึ่งเป็นภัยเงียบที่คุกคามต่อสุขภาพ และความเป็นอยู่ของมนุษย์ แต่ในประเทศไทยยังมีข้อมูลการวิจัยทาง<br>ละอองชีวภาพแขวนลอยในอากาศค่อนข้างที่จำกัด และยังไม่มีการกำหนดหรือบังคับใช้มาตรฐานจุลินทรีย์ใน<br>อากาศภายนอกอาคารที่ชัดเจน บทความวิชาการนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เกี่ยวกับ<br>แหล่งการแพร่กระจายละอองชีวภาพแขวนลอยจากสถานที่ฝังกลบมูลฝอยเป็นส่วนใหญ่ ผลกระทบต่อ<br>สุขภาพจากการรับสัมผัสละอองชีวภาพ ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อละอองชีวภาพแขวนลอยในอากาศ<br>นิยามคุณภาพอากาศทางชีววิทยาที่ดีภายนอกอาคารและบทสรุป</p> ER -