TY - JOUR AU - ศรีวิชา, นิตยา AU - ภาโนมัย, ณิตชาธร PY - 2017/07/07 Y2 - 2024/03/28 TI - ประสิทธิผลของโปรแกรมโภชนศึกษาโดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้าน สุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกัน พยาธิใบไม้ตับของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตเทศบาลตำบลหนองโก อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น JF - วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น JA - KKU J for Pub Health Res VL - 7 IS - 3 SE - นิพนธ์ต้นฉบับ DO - UR - https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/121144 SP - 18-27 AB - <p>การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental Research) มีวัตถุประสงค์<br>เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมโภชนศึกษาโดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ<br>ร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันพยาธิใบไม้ตับของนักเรียน<br>มัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตเทศบาลตำบลหนองโก อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น โดยการแบ่งกลุ่ม<br>ตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง (Experimental group) จำนวน 42 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ<br>(Comparison group) จำนวน 42 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามทั้งก่อนและหลังการทดลอง<br>กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมโภชนศึกษาประกอบด้วย การสนทนากลุ่ม การเรียนรู้จากสื่อวีดีทัศน์ โปสเตอร์<br>Powerpoint แผ่นพับ กิจกรรมการเล่นเกมส์ และการจัดนิทรรศการ ดำเนินการวิจัยระหว่างเดือน<br>กุมภาพันธ์ – มีนาคม 2557 รวมระยะเวลา 6 สัปดาห์ ส่วนในกลุ่มเปรียบเทียบจะไม่ได้รับโปรแกรม<br>โภชนศึกษาใดๆ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป STATA โดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่<br>ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างของความรู้ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการ<br>เป็นโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคของการป้องกันโรค และการรับรู้<br>ความสามารถของตนเองในการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับก่อนและหลังการทดลองในกลุ่มทดลอง<br>และกลุ่มเปรียบเทียบ และระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ โดยใช้ Independent t-test, Paired<br>t-test, และ 95%CI<br>ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยในด้านความรู้เรื่องโรคพยาธิ<br>ใบไม้ตับ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์และอุปสรรค<br>ของการป้องกันโรค และการรับรู้ความสามารถของตนเองในการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับมากกว่า<br>ก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value&lt;0.05) ซึ่งโปรแกรมโภชน<br>ศึกษานี้สามารถนำไปเป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคอื่นๆ ได้</p> ER -