ภาวะสุขภาพของบุคลากรที่ทางานด้านสุขภาพ อาเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • คนึงนุช แจ้งพรมมา
  • พัทธนันท์ คงทอง

คำสำคัญ:

การตรวจสุขภาพประจาปี, ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะโภชนาการเกิน, ภาวะโภชนาการเกิน

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาสู่งานประจา (R2R) โดยใช้ระเบียบวิจัยเชิงพรรณนา
(Descriptive research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการตรวจสุขภาพประจาปีทางห้องปฏิบัติการและปัจจัย
ที่ส่งผลต่อภาวะโภชนาการเกินในบุคลากรที่ทางานด้านสุขภาพในอาเภอพระยืนจังหวัดขอนแก่นกลุ่มตัวอย่าง
ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือบุคลากรที่ทางานเกี่ยวกับสุขภาพในอาเภอพระยืนซึ่งปฏิบัติงานมาอย่างน้อย
6เดือน คานวณขนาดตัวอย่างเพื่อประมาณค่าสัดส่วนได้ขนาดตัวอย่าง 113 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลจากแฟ้ม
ประวัติของบุคลากรที่ตรวจสุขภาพที่โรงพยาบาลประยืนประจาปี 2557 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม Stata
สถิติที่ใช้ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ เพื่อบรรยายข้อมูลแจงนับ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ค่ามัธยฐาน ค่าสูงสุดค่าต่าสุด เพื่อบรรยายข้อมูลต่อเนื่องวิเคราะห์หาปัจจัยต่างๆ ด้วยสถิติ 2 –test นาเสนอ
ค่า OR และ 95% CI
ผลการศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ค่า BMI สูงกว่าปกติอายุเฉลี่ย45.31 ปี (S.D. 6.15) มีน้าหนักเฉลี่ย
68.5 กิโลกรัม (SD 8.23) ส่วนสูงเฉลี่ย 161.24 เซนติเมตร (S.D. 7.18) รอบเอวมากกว่าปกติ ร้อยละ 72.41
นิ้ว มีระดับความดันโลหิตสูงกว่าปกติ ร้อยละ 51.72 ด้านองค์ประกอบของเลือดในกลุ่มตัวอย่างที่ค่า BMI สูง
กว่าปกติมีระดับน้าตาลในเลือดเฉลี่ย 100.60 mg/dl (S.D. 23.98) มีระดับน้าตาลระดับปกติร้อยละ67.24
ระดับ Cholesterolระดับปกติร้อยละ48.28ค่าเฉลี่ย216.93mg/dl (S.D. 56.97) ระดับ Triglyceride อยู่ใน
ระดับปกติร้อยละ 60.64 เฉลี่ย 151.48 mg/dl (S.D. 113.13) กลุ่มตัวอย่างทุกคนมีระดับ BUN ปกติเฉลี่ย
12.11mg/dl (S.D. 2.85) ระดับ Creatinine อยู่ในระดับปกติ ร้อยละ 75.86 ระดับ AST อยู่ในระดับปกติ
ร้อยละ 70.69 ระดับ ALT ระดับปกติ ร้อยละ 91.38 ระดับ ALP อยู่ในระดับปกติ ร้อยละ 93.10 ระดับ Uric
acid อยู่ในระดับปกติ ร้อยละ 77.59 ระดับ Hct อยู่ในระดับปกติร้อยละ 75.86 ระดับ WBC อยู่ในระดับ
ปกติ ร้อยละ 84.48 เฉลี่ย 6,512.72 cells/dl (S.D. 1,827.37) ด้านปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการเกิน
พบว่าปัจจัยด้านอายุระดับความดันโลหิตและระดับ Triglyceride เป็นปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการเกิน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p-value<0.05) ส่วนปัจจัยด้านระดับน้าตาลและระดับ Cholesteral เป็นปัจจัยที่
มีผลต่อภาวะโภชนาการเกินอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ (p-value>0.05) จากสถิติการตรวจสุขภาพดังกล่าว
สามารถนาไปใช้ประยุกต์ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของบุคลากรที่ทางานด้านสุขภาพได้ในอนาคต

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-07-07