กลยุทธ์การบริหารงานวิจัยในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41

ผู้แต่ง

  • Prapai Titakosol

คำสำคัญ:

กลยุทธ์, การบริหาร, งานวิจัยในโรงเรียน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานวิจัยและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยในโรงเรียนมัธยมศึกษา 2) พัฒนากลยุทธ์การบริหารงานวิจัยในโรงเรียนมัธยมศึกษาและ 3) ประเมินกลยุทธ์การบริหารงานวิจัยในโรงเรียนมัธยมศึกษา การดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ได้แก่1) ศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานวิจัยและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยในโรงเรียนมัธยมศึกษา ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง 435 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอนและการสนทนากลุ่ม 2 ครั้ง จำนวน 25 คน พบว่า 2) การพัฒนากลยุทธ์การบริหารงานวิจัยในโรงเรียนมัธยมศึกษา ด้วยวิธีการประชุมเชิงปฏิบัติการ 2 ครั้ง จำนวน  35 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอนและนักวิชาการ เพื่อการจัดทำ SWOT Analysis ของโรงเรียนและจัดทำร่างกลยุทธ์ และให้ผู้ทรงคุณวุฒิทำการวิพากษ์กลยุทธ์ด้วยวิธีการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 11 คน พบว่า ได้กลยุทธ์การบริหารงานวิจัยในโรงเรียนมัธยมศึกษา 10  กลยุทธ์  37 มาตรการและ 47 ตัวชี้วัด  3) ประเมินกลยุทธ์การบริหารงานวิจัยในโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ  จำนวน 22 คน ผู้ประเมินประเมินว่า กลยุทธ์การบริหารงานวิจัยในโรงเรียนมัธยมศึกษา ด้านความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากและมากที่สุด 

References

เฉลิมพล รุจินันท์ และสิรพัฒน์ ประโทนเทพ. (2554). การศึกษาไทยจะไร้ทางเยียวยา. กรุงเทพฯ :
มูลนิธส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและมาตรฐานวิทยาศาสตร์อุปถัมป์ฯ.

ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดการและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา.
(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

ธีรภัทร ชาญเชี่ยว. (2553). การศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการทำวิจัยใน
ชั้นเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์
มหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

ณรงค์วิทย์แสนทอง. (2555). การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี (Annual Action Plan). สืบค้นจากwww.
planning.oop.cmu. ac.th/web/.../technique actionplan.htm.

ณัฐยา สินตระการผล. ( 2553). การจัดการเชิงกลยุทธ์: ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ธรรกมลการพิมพ์.

นิรุธ ธรรมสุนทร. (2547). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการวิจัยในสถานศึกษา
ตามความคิดเห็นของครูผู้สอนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ระยอง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

พัชรินทร์ ศิริสุข. (2553). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงอย่างมีแผนสำหรับ
ผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ดุษฏีบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภารดี อนันต์นาวี. (2553). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ชลบุรี :
มนตรี.

รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2549). การจัดการสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: บริษัทธรรมสาร จำกัด.

รังสรรค์ มณีเล็ก. (2549).การวางแผนกลยุทธ์และการจัดทำงบประมาณในสถานศึกษา.
นนทบุรี : เกรท เอ็ดดูเคชั่น.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2540). การบริหารเชิงกลยุทธ์และกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
พัฒนาศึกษา.

สุพจน์ ทรายแก้ว. (2553). การจัดการภาครัฐแนวใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 3). มหาวิทยาลัยราชภัฏ
วไลยอลงกรณ์.

สุนทร โคตรบรรเทา. (2552). หลักการและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.

สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2552). การบริหารเชิงกลยุทธ์. (พิมพ์ครั้งที่ 19). กรุงเทพฯ : อมรินทร์.

สมภพ บุญเที่ยงตรง. (2550). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการงานวิจัยในชั้นเรียน.
วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

โสรส กันแก้ว. (2550). บทบาทในการส่งเสริมงานวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทราเขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์
มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

อธิปัตย์ คลี่สุนทร. (2554).ยุทธศาสตร์การบริหารในยุคโลกาภิวัตน์. สืบค้นจาก
www.moe.go.th/main2/article/article_atipat/cyber_manage.doc.

แอ็ดมิน.(นามแฝง). (2552, ธันวาคม 4). การวิจัย : นวัตกรรมขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา.
ใน เดลินิวส์.สืบค้นจาก http//social.obec.go.th/node/92.

Williams. (2001). A dministrator evaluations and their role in relation to effective leadership.
Dissertation Abstract. สืบค้นจาก pub number AAT 3007014.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

12-06-2018

How to Cite