ผลกระทบของกระบวนการจัดทำบัญชีที่มีต่อประสิทธิภาพรายงานทางการเงิน ของนักบัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ผู้แต่ง

  • บุญช่วง ศรีธรราษฎร์ คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 113 ม.12 ต.เกาะแก้ว อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 45120

คำสำคัญ:

กระบวนการจัดทำบัญชี, ประสิทธิภาพรายงานทางการเงิน, นักบัญชีบริษัท

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลกระทบของกระบวนการจัดทำบัญชีที่มีต่อประสิทธิภาพรายงานทางการเงินของนักบัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักบัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 145 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ

           จากการทดสอบผลกระทบ พบว่า 1) กระบวนการจัดทำบัญชี ด้านการจดบันทึกมีผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพรายงานทางการเงินโดยรวม (β = 0.597) 2) กระบวนการจัดทำบัญชี ด้านการจัดหมวดหมู่     มีผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพรายงานทางการเงินโดยรวม (β =0.528) และ3)กระบวนการจัดทำบัญชี ด้านการวิเคราะห์และแปลความหมาย มีผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพรายงานทางการเงินโดยรวม      (β= 0.472) โดยตัวแปรทั้งหมดมีประสิทธิภาพในการพยากรณ์ ร้อยละ 39.40 (R2= 0.394)

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2560). ฐานข้อมูลนักบัญชีบริษัท 2560. สืบค้นจาก https://www.dbd.go.th
เชาวลีย์ พงศ์ผาติโรจน์ และวรศักดิ์ ทุมมานนท์. (2552). หลักการบัญชี 1. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นนทยา ทองศิริ. (2552). ผลกระทบของประสิทธิภาพการประยุกต์ใช้ข้อมูลทางการบัญชีที่มีต่อ
ประสิทธิผลการวางแผนดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บช.ม.
มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ประชุม รอดประเสริฐ. (2543). นโยบายและหลักการวางแผนหลักการและทฤษฎี. พิมพ์ครั้งที่ 7.กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ์.
ประภาศรี เหลือถนอม. (2557). ผลกระทบของกระบวนการจัดทำบัญชีที่มีต่อประสิทธิภาพรายงาน
ทางการเงินของสหกรณ์ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม:
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

มินท์ธิตา ถึงฝั่ง. (2555). ผลกระทบของการปฏิบัติทางการบัญชีเยี่ยงมืออาชีพที่มีต่อประสิทธิภาพ
การนำเสนอรายงานทางการเงินของธุรกิจโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในประเทศไทย.
วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เมธากุล เกียรติกระจาย และคณะ. (2550). ทฤษฎีการบัญชี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เมธากุล เกียรติกระจาย และศิลปะพร ศรีจั่นเพชร. (2544). ทฤษฎีการบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ:
อักษรสยามการพิมพ์.

วาสนา จันทะกล. (2558). ผลกระทบของการปฏิบัติด้านการบันทึกบัญชีที่ดีที่มีต่อความถูกต้อง
ของรายงานทางการเงินของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บช.ม.
มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศศิวิมล มีอำพล. (2548). หลักการบัญชีขั้นต้น. กรุงเทพฯ: อิมโพไมนิ่งเพรส.
ศศิวิมล ศรีเจริญจิตร์. (2547). ทฤษฎีการบัญชี. กรุงเทพฯ: อิมโพไมนิ่ง.
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ และสมเดช โรจน์คุรีเสถียร. (2552). การบัญชีขั้นต้น. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล
อินเตอร์เนชั่นแนล เอ็นเตอร์ไพรส์.

สวัสดิ์ พุ่มภักดี, วันชัย ประเสริฐศรี และประภัสสร กิตติมโนรม. (2535). การบัญชีขั้น 1. กรุงเทพฯ:
พัฒนาวิชาการ.

สายฝน วิลัย. (2558). คุณภาพข้อมูลทางบัญชีที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการตัดสินใจของผู้บริหาร
ในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์
บช.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุมินทร เบ้าธรรม. (2558). วิจัยทางการบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
สุริยุ เมืองขุนรอง. (2541). หลักการบัญชี 2. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: คณะบัญชี มหาวิทยาลัย
หอการค้าไทย.

อรุษ คงรุ่งโชค และจันทร์นิภา สุวรรณพิทักษ์. (2551). หลักการบัญชีขั้นต้น. กรุงเทพฯ: ท็อป.
Angeloni, S. (2016). Cautiousness on convergence of accounting standards across countries.
Corporate Communications: An International Journal. 21(2), 246-267.

Bianco. P., & Sipp, D. (2014). Regulation: Sell help not hope. Nature International weekly
Journal, 510(7505), 336-337.

Bock, L. (2015). Work rules: insinghts from inside Google that will transform how you live
And lead. London: Hodder & Stoughton.

Hirshleifer, David and Siew Hong Teoh. (2003). “Disclosure Financial Reporting Comparative
Analysis Behavior Investors Studies,” Journal of Accounting & Economics. 36 (1-3): 337, December.

Kardan, B., Salehi, M., & Abdollahi, R. (2016). The relationship between the outside
Financing and the quality of financial reporting: evidence from Iran. Journal of Asia
Business Studies: Bingley. 10(1), 20-40.

Marcus, M. L. (2015). Accessing vs Sourcing Knowledge: A Comparative Study of R&D
Internationalization Between Emerging and Advanced Economy Firms. Journal of
International Business Studies, 46(1), 63-68.

McMahon, G.P. Richard. (2001). “Business Growth and Performance and the Financial
Reporting Practices of Auatralian Manufacturing SMEs,” Journal of Small Business Management. 39(2), 164, April.

Naser, Kamal and NuseibenRana. (2003). “Quality of Financial Reporting: Evidence From
the Listed Saudi Nonfinancial Companies,” The Information Journal of
Accounting. 38(1), 41-69.

Voorbij, Henk and AdriaanLemmen. (2007). “Coverage of Periodicals in National Deposit
Libraries,” Serials Review. 33(1), 40-44, March.

Spence, J., & Seargeant, D. (2015). Implementing a trustworthy cost-accounting model.
Healthcare Financial Management. 69(3), 84-89.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

16-08-2019

How to Cite