การเตรียมแผ่นฟิล์มจากแป้งข้าวเจ้าและแนวทางการใช้ประโยชน์ด้านสุขภาพและความงาม

ผู้แต่ง

  • ปิยดา ยศสุนทร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

คำสำคัญ:

แป้งข้าวเจ้า, แผ่นฟิล์มหอมอโรมาเธอราพี, แผ่นฟิล์มซับความมันและเหงื่อบนใบหน้า

บทคัดย่อ

การศึกษางานวิจัยเพื่อพัฒนาแผ่นฟิล์มจากแป้งข้าวเจ้าที่มุ่งเน้นการนำวัสดุจากธรรมชาติและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาเป็นวัตถุดิบเพื่อปรับปรุงและพัฒนาให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผลิตภัณฑ์ทางด้านสุขภาพและความงามได้แก่ แผ่นฟิล์มหอมอโรมาเธอราพี และแผ่นฟิล์มซับความมันและเหงื่อบนใบหน้า งานวิจัยนี้ได้กล่าวถึง กระบวนการผลิต ลักษณะปรากฏ สมบัติทางเคมีกายภาพ สมบัติเชิงกล และการใช้งาน เป็นต้น ประโยชน์ที่ได้รับจะเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ของการนำวัสดุธรรมชาติมาทดแทนวัสดุสังเคราะห์ เป็นการเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร งานวิจัยจึงมีความสำคัญยิ่งในการสร้างความรู้พื้นฐาน และนำมาบูรณาการในการผลิตเชิงอุตสาหกรรม ซึ่งจะเป็นผลดีต่อประเทศในอนาคต

References

เอกสารอ้างอิง

ชานนท์ มูลวรรณ และกัณวริช พลูปราชญ์. (2558). การพัฒนาผลิตภัณฑ์วัสดุเชิงประกอบที่เสริมแรงด้วยใยสับปะรด. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ณัฏฐินี อนันตโชค. (2559). ดอกคาโมมายล์. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2560, จาก เอกสารประกอบการเรียน ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล : www.pharmacy.mahido.l.ac.th/th/knowledge/article/321/

ทัศนีย์ ฤกษ์สุทธิรัตน. (2548). การตรึงกลิ่นหอมของน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้ต้นด้วยวัสดุธรรมชาติ. สาขาวิชาชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นิจศิริ เรืองรังสี. (2550). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับน้ำมันหอมระเหย. สืบค้นเมื่อ 24 กันยายน 2560, จาก วิชาการสุคนธบำบัด : file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Documents.

ปรินทร เต็มญาธศิลป์. (2551). การเตรียมและการวิเคราะห์คุณลักษณะเฉพาะของถ่านกัมมันต์จากไผ่ตงและไผ่หมาจู๋. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ปานทิพย์ บุญส่ง, ณัฏฐา เลาหกุลจิตต์ และอรพิน เกิดชูชื่น. (2550). การพัฒนาสารตรึงกลิ่นบุหงาและดอกไม้แห้งโดยใช้ฟิล์มแป้งมันสำปะหลังร่วมกับน้ำมันหอมระเหยจากพืช 5 ชนิด. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนลโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ปีที่ 30 (ฉบับที่ 2), 329-343.

ปิยนุสร์ น้อยด้วง, ลลิดา ท้าวลา และอรพรรณ ปะอ้าย. (2558). ศึกษาการผลิตฟิล์มที่รับประทานได้จากสตาร์ชแห้วจีน. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, ปีที่ 46 (ฉบับที่ 3 พิเศษ), 665-668.

พชรวิชญ์ วงค์พิทักษ์วรกุล. (2559). การเตรียมแป้งดัดแปรข้าวเจ้าด้วยกรดเพื่อนำไปใช้ในการทำแผ่นฟิล์ม. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

ไพรัช วงศ์ยุทธไกร และคณะ. (2552). การผลิตแผ่นซับหน้ามันจากไคโตซานแบบแผ่นฟิล์มและแผ่นกระดาษ.วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, ปีที่ 3 (ฉบับที่ 1), 25-31.

ลัดดาวัลย์ ไกรพานนท์. (2550). การดัดแปรสตาร์ชข้าวเจ้าโดยวิธีการให้ความร้อนชื้นร่วมกับวิธีการทางเคมี. สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิรงรอง ทองดีสุนทร และภาณุพงษ์ ใจวุฒิ. (2559). การเตรียมและการวิเคราะห์สมบัติของคาร์บอกซีเมธิลเซลลูโลสจากเปลือกและเนื้อสับปะรด (Ananas comosus L. Merr) พันธุ์ปัตตาเวีย. รายงานผลการวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

วิวัฒน์ พิชญากร และคณะ. (2558). มาสค์พอกหน้าและแผ่นขจัดสิวเสี้ยนจากน้ำยางพารากำจัดโปรตีน. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อรัญญา มโนสร้อย และจีรเดช มโนสร้อย. (2559). การเก็บน้ำมันระเหยในอนุภาคขนาดเล็กเพื่อใช้ทางเครื่องสำอางและสุคนธบำบัด. คณะเภสัชศาสตร์ ศูนย์บริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เอกพิสิษฐ์ โชคอุทัยกุล. (2557). แผ่นผสมระหว่างแป้งมันสำปะหลังกับไคโตซานที่เสริมแรงด้วยเส้นใยแบคทีเรียเซลลูโลสโดยมีน้ำมันหอมระเหยเป็นสารต้านเชื้อแบคทีเรีย. วิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาวิทยาการและวิศวกรรมพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อ้อมบุญ วัลลิสุต. (2557). บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชนอโรมาเธอราพี. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2560, จาก ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล : https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/225.

องค์การเภสัชกรรม. (2559). โคลนพอกหน้าจากถ่านชาร์โคลพัฒนาเป็นวัตถุดิบผลิตเครื่องสำอาง. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2560, จาก ผู้จัดการออนไลน์ : https://mgronline.com/qol/detail/9590000060207.

Light , J.M. (1990). Modified food starches : why , what , where and how. Cereal Food World. 35(11):1081-1092.

Martins, I. V., Sandra, P., Lúcia, O., Carmen, S. R., Carlos, P. N. and Alessandro, G., (2009). New biocomposites based on thermoplastic starch and bacterial cellulose.Composites
Science and Technology 69: 2163–2168.

Wan, Y. Z., Honglin L. and Liang, H., (2009). Mechanical, moisture absorption, and Biodegradation behaviours of bacterial cellulose fibre-reinforced starch biocomposites. Composites Science and Technology 69:1212–1217.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

16-08-2019

How to Cite