คนไทยกับมโนทัศน์การต่อสู้

Main Article Content

นันทนา วงษ์ไทย

บทคัดย่อ

บทความนี้ต้องการเสนอว่าคนไทยมีการนำมโนทัศน์การต่อสู้มาใช้เป็นมโนทัศน์ต้นทางเพื่อทำความ เข้าใจมโนทัศน์อื่นๆ จากการเก็บข้อมูลการใช้ภาษาในชีวิตประจำวันและทบทวนงานวิจัยต่างๆ พบว่า คนไทย มีการทำความเข้าใจผ่านมโนทัศน์การต่อสู้ ได้แก่ ชีวิต โรค ความตาย การเมือง กีฬา เศรษฐกิจ ภัยธรรมชาติ อารมณ์ ความงาม การสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต ยาเสพติด และกระบวนการยุติธรรม การนำมโนทัศน์การต่อสู้มาใช้ ในการทำความเข้าใจมโนทัศน์ต่างๆ ดังกล่าวนี้สามารถอธิบายได้จากวิวัฒนาการของมนุษย์ที่ต้องมีการต่อสู้ใน รูปแบบต่างๆ เพื่อความอยู่รอดและดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์ของมโนทัศน์การต่อสู้และมโนทัศน์ ต่างๆ ที่พบ แสดงให้เห็นได้จากการเชื่อมโยง (mapping) องค์ประกอบระหว่างมโนทัศน์ทั้งสองตามแนวคิด ในทฤษฎีอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ การศึกษานี้ทำให้เห็นว่าคนไทยมีทัศนะหรือมุมมองทางความคิดเกี่ยวกับ มโนทัศน์ดังกล่าวว่าเป็นเรื่องที่ต้องต่อสู้เพื่อเอาชนะ ทั้งที่เป็นการต่อสู้เพื่อกำจัดให้หมดสิ้นไป และต่อสู้เพื่อให้คงอยู่ หรือเพื่อให้ได้มา


 

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
วงษ์ไทย น. (2018). คนไทยกับมโนทัศน์การต่อสู้. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 18(2), 193–220. https://doi.org/10.14456/lartstu.2018.19
บท
บทความวิชาการ

References

เดือนกับนโยบายปราบยาเสพติดสมัยรัฐบาล “ทักษิณ”.สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2560 จาก http://www.now26.tv/view/88355

กรกนก รัมมะอัตถ์. (2556). การเปรียบเทียบอุปลักษณ์ความรักในเพลงไทยลูกทุ่งกับเพลงไทยสากล (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ความกลัว....คุณเอาชนะมันด้วยวิธีไหนบ้าง?.สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560 จาก https://pantip.com/topic/31302960เงินค่าใช้จ่ายในการสู้คดี. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2560 จาก https://pantip.com/topic/30480151

จิตติมา จารยะพันธุ์. (2539). อุปลักษณ์สงครามในข่าวกีฬาในหนังสือพิมพ์ภาษาไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดีเลิศ ศิริวารินทร์. (2550). อุปลักษณ์ในข่าวเศรษฐกิจในหนังสือพิมพ์ไทย(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ท้อแท้กับโชคชะตา...อย่าเพิ่งหมดหวังค่ะ จากคุณหนูตกกระป๋อง. สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560 จาก https://pantip.com/topic/33252657

ไทยรัฐออนไลน์. (2559). ชาวนา จ.อ่างทอง ต้องสู้ราคาข้าวตกต่ำ – ภัยธรรมชาติน้ำแล้ง.สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560 จาก https://www.thairath.co.th/content/558857

ธนพล เอกพจน์. (2557). อุปลักษณ์ความทุกข์ในภาษาไทย.รายงานการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 15: 50 ปี มข. แห่งการอุทิศเพื่อสังคม (น.2330-2339). วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

นันทนา วงษ์ไทย. (2555). อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับความตายในภาษาไทย.วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 31(1), 43-64.

________. (2556). การวิเคราะห์วาทกรรมความงามในโฆษณาเครื่องดื่มเพื่อความงาม. วารสารมนุษยศาสตร์, 20(1), 77-107.

นรินทร์ บัวนาค. (2559).มโนอุปลักษณ์กีฬาฟุตบอลในหนังสือพิมพ์ไทย (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปิยภรณ์ อบแพทย์. (2552).อุปลักษณ์เกี่ยวกับชีวิตในหนังสือธรรมะ (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปิยะโชค ถาวรมาศ. (2557). มนุษย์มาจากไหน. กรุงเทพฯ: ก้าวแรก.เปรมกมล สถิตเดชกุญชร. (2551).การศึกษากระบวนการทางความหมายของอุปลักษณ์จากอินเทอร์เน็ตในภาษาไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พิมาน แจ่มจรัส. (2555). สงครามในประวัติศาสตร์ไทย(พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: เลิฟแอนด์ลิพเพรส.

ภรณ์โสภา มหาวงศ์ทอง. (2557).ความรุนแรงในพาดหัวข่าวอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 และ 2555 ในหนังสือพิมพ์ไทย (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

มติชนออนไลน์. (2559). ลำปางเตรียมสั่งปิดป่าจันทร์นี้ หลังสู้กับไฟป่ายืดเยื้อ ใครเข้าไปจับเอาผิดทันที. สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560 จาก https://www.matichon.co.th/news/84121

ยมลภัทร ภัทรคุปต์. (2553).อุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัชนินท์ พงศ์อุดม. (2548).ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับค่านิยมเกี่ยวกับความงาม: การศึกษาวาทกรรมโฆษณาเครื่องสำอางในภาษาไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัชนีย์ญา กลิ่นน้ำหอม. (2551). อุปลักษณ์ที่นักการเมืองไทยใช้: การศึกษาตามแนวอรรถศาสตร์ปริชานและวัจนปฏิบัติศาสตร์ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556).พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2555). กิเลส:การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์,19(2), 24-41.

วิรดา คูหาวันต์. (2560). เมื่อโรคซึมเศร้า เกือบเอาชีวิตของเธอไป.สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560 จาก http://johjaionline.com/talk-lounge/

วรวรรณา เพ็ชรกิจ. (2551).การศึกษาอุปลักษณ์เกี่ยวกับโรคมะเร็งในภาษาไทยตามแนว ปริชานศาสตร์และวัจนปฏิบัติศาสตร์ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วศิน อินทสระ. (2560). ทำอย่างไรกับความโกรธ. กรุงเทพฯ: ขุมทองอุตสาหกรรมและการพิมพ์.

สุรเชษฐ์ พิชิตพงศ์เผ่า. (2553).อุปลักษณ์ชีวิตในหนังสือแนะนำการดำเนินชีวิต: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับมโนทัศน์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สรัญญา วรานฤชิต. (2557). น้ำท่วมคือสงคราม: อุปลักษณ์มโนทัศน์ในการรายงานสดข่าวอุทกภัยปี 2554 ทางโทรทัศน์ไทย. ใน อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (บรรณาธิการ), ภาษากับอำนาจ: บทความจากการประชุมวิชาการ (น.189-218). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สยามรัฐ. (2558). แนวพระราชดำริสู้สงครามความยากจน(1).สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560 จาก http://siamrath.co.th

อุษา พฤฒิชัยวิบูลย์. (2544). การศึกษาอุปลักษณ์เรื่องการเมืองในภาษาไทยตามแนวอรรถศาสตร์ปริชาน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Arresse, A. (2015). Euro crisis metaphors in the Spanish press. Communication and Society, 28(2), 19-38. Retrieved January 7, 2018 from https://www.unav.es/fcom/communication-society/en/articulo.php?art_id=529

Kövecses, Z. (2002). Metaphor: A practical introduction.Oxford: Oxford University Press.

Lakoff, G., & Johnson, M. (1980). Metaphors we live by. Chicago, IL: University of Chicago Press.

Li, C., & Xiao, H. (2017). A contrastive study of conceptual metaphor in Chinese and American courtroom discourse. Theory and Practice in Language Studies, 7(11), 1065-1074.

Ling, S. (2010).A cognitive study of war metaphors in five main areas of everyday English: Politics, business, sports, disease and love. Retrieved January 5, 2018 from http://www.diva-portal.org/smash/get/diva2:397473/FULLTEXT01.pdf

Panphothong, N. (2008). Being unattractive is like having a disease: On the advertising discourse of cosmetic surgery in Thai,Bangkok: Department of Thai, Faculty of Arts, Chulalongkorn University. (Unpublished)

Phakdeephasook, S. (2009). Discourse of femininity in advertisements in Thai health and beauty magazines. MANUSYA: Journal of Humanities, 12(2), 63-89.

ThaiPBS. (2560). กรมอุตุฯ เตือนฝนตกหนักทั่วไทยถึง 6 ต.ค.นี้.สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2560 จาก http://news.thaipbs.or.th/disaster

Van Dijk, T. A. (2003). Critical discourse analysis. In D. Schiffrin, D. Tannen, & H. E. Hamilton. (Eds.), The handbook of discourse analysis (pp. 352-371). Malden, MA: Blackwell.