ความรู้สึกในฐานะปฏิบัติการทางสังคม

Main Article Content

ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้สำรวจสถานะของความรู้สึกในกรอบของการเข้าถึงความรู้แบบมนุษยศาสตร์ โดยชี้ว่าความรู้สึกมีสถานะสองด้านที่ขัดแย้งกันคือความรู้สึกเป็นความรู้เชิงอัตวิสัยที่ไม่น่าเชื่อถือ แต่ในขณะเดียวกันความรู้สึกก็ถือเป็นสารัตถะอันสูงส่งบ่งบออกความเป็นมนุษย์ บทความได้เสนอให้พิจารณาความรู้สึกในฐานะที่เป็นผลผลิตของยุคสมัยและบริบททางสังคม โดยหยิบยกตัวอย่างอารมณ์ความรู้สึกบางประการ เช่น ความรัก ความเซ็ง ความเศร้า ความเสียใจ มาพิจารณาเป็นกรณีศึกษาเพื่อสาธิตให้เห็นว่าความรู้สึกเหล่านี้ล้วนถูกกำหนดด้วยเงื่อนไขทางสังคมและประวัติศาสตร์ ที่สำคัญเหนืออื่นใดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการกำหนดความสัมพันธ์ นิยามอัตลักษณ์และควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม

The article surveys the status of feeling within the humanistic epistemology. Pointing out its contradictory status. On one hand, feeling is deemed as a too subjective and unreliable source of knowledge; on the other hand, it is valorized as an essence of a human being. The article offers to examine feelings as part of a social practice by exploring some various feeling such as love, ennui, grief and sadness within Thai cultural and historical context. More important, feelings are part of a social apparatus  to designate social relations, define identities, and control human behaviours.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความ