มนุษยภาพและความเป็นอเมริกันในวิกฤตของมนุษยศาสตร์อเมริกัน

Main Article Content

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

บทคัดย่อ

บทความนี้เสนอข้อคิดว่าปัญหาและวิกฤตในมนุษยศาสตร์อเมริกันนั้นมีลักษณะเฉพาะและแตกต่างจากมนุษยศาสตร์ยุโรปที่เราคุ้นเคยกันดี แม้ว่าอเมริกาตั้งแต่กำเนิดจนถึงการสร้างประเทศขึ้นมา ได้รับอิทธิพลจากปรัชญาแสงสว่างของยุโรปเป็นสำคัญก็ตาม แต่แนวคิดจากลัทธิโปรเตสแตนท์ซึ่งแม้มาจากลัทธิคัลแวงในยุโรป ที่พัฒนาเติบใหญ่ในอเมริกาแต่แรก จะก้าวขึ้นมามีฐานะและบทบาทนำในการปรับเปลี่ยนภูมิปัญญาอเมริกันมากกว่า ทำให้การก่อรูปของมนุษยศาสตร์ในอเมริกามีมติของจริยธรรมและน้ำเสียงของลัทธิโปรเตสแตนท์มากกว่าลัทธิเหตุผลนิยมแบบปรัชญาแสงสว่าง ตัวอย่างที่นำมาอธิบายถึงความขัดกันในการรับและพัฒนาปรัชญาแสงสว่างในอเมริกาคือกรณีของความเป็นทาสของคนผิวดำในอเมริกาเอง

The article argues that the development and crisis in American Humanities are different from European Humanities in many ways. Even though the US from its very beginning to the formation of the national state had been influenced mainly by the European Enlightenment philosophy, it was Protestantism that signified Americanism by the first quarter of the nineteenth century. The paradox in the Enlightenment and intellectual mind in the US was exemplified by the problem of Back slavery in the US.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความ