สื่อผสมวัจนภาษาของเด็กไทย: กรณีศึกษาเชิงพัฒนาการต่อเนื่องในเด็กไทยวัย 2-6 ปี

Main Article Content

สุธาสินี ปิยพสุนทรา

บทคัดย่อ

ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมทางการสื่อสารที่ใช้สื่อหลากหลายรูปแบบในยุคแห่งข้อมูลข่าวสารนี้ พัฒนาการ ด้านการใช้สื่อผสมวัจนภาษาของเด็กปฐมวัยสะท้อนการได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัว ผลการศึกษาพบ ว่าเด็กมีพัฒนาการด้านรูปแบบและถ้อยคำ กล่าวคือ เริ่มจากการวาดลายเส้นไร้ทิศทาง ต่อมาเส้นสายดังกล่าว ก็เริ่มควบคุมได้พัฒนาไปสู่การเขียนตัวอักษรอย่างมีลำดับ ตามด้วยการใช้สีประกอบตัวอักษรเพื่อสื่อความหมาย ขั้นต่อจากนั้นคือการใช้อักษรเพื่อสื่อความหมาย การเขียนคำศัพท์การใช้คำศัพท์ประกอบสัญลักษณ์ตัวอักษร การเชื่อมโยงความ และการดัดแปลงตัวอักษรเพื่อสื่อความหมายอื่นตามลำดับ นอกจากนี้ในแง่สถานการณ์ที่ ใช้สื่อผสมวัจนภาษานั้นก็เพื่อเล่นสนุก และเมื่อเด็กเติบโตมากขึ้นก็เริ่มใช้สื่อดังกล่าวถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึก ต่อยอดความคิดสร้างสรรค์และแก้ปัญหาได

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ปิยพสุนทรา ส. (2018). สื่อผสมวัจนภาษาของเด็กไทย: กรณีศึกษาเชิงพัฒนาการต่อเนื่องในเด็กไทยวัย 2-6 ปี. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 18(2), 55–73. https://doi.org/10.14456/lartstu.2018.13
บท
บทความวิจัย

References

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2561). การวิเคราะห์ข้อความ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ลำดวน คัฒมารศรี. (2561). ความหมายและความสำคัญของเด็กปฐมวัย. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2561 จาก http://www.e-child-edu.com/youthcenter/forum/post_detail/269

ศรียา นิยมธรรม. (2544). ศิลปะกับเยาวชน. กรุงเทพฯ: สันติศิริการพิมพ์.

Fleming, J. (2004). Psychological perspectives on human development. Retrieved May 2, 2018 from http://swppr.org/Textbook/Contents.html

Holly, W. (2011). Medien, kommunikationsformen, textsortenfamilien. In H. Stephan (Ed.), Textsorten, handlungsmuster, oberflächen: linguistische typologien der kommunikation (pp. 144–163). Berlin: De Gruyter.

Kress, G., & Leeuwen, T.V. (1996). Reading images: The grammar of visual design. New York, NY: Routledge.

Kress, G. (2000). Before writing: Rethinking the paths to literacy (2nd ed.). London: Routledge.

Kress, G. (2010). Multimodality: A social semiotic approach to contemporary communication. London: Routledge.

Lowenfeld, V., & Brittain, W. L. (1964). Creative and mental growth (4th ed.). New York, NY: Macmillan.

Malik, S., & Agarwal, A. (2012). Use of multimedia as a new educational technology tool–a study. International Journal of Information and Education Technology, 2(5), 25-37.

Rollins, J. (2005). Tell me about it: Drawing as a communication tool for children with cancer. Journal of Pediatric Oncology Nursing, 22(4), 203-221.

Wright, M. (1995). An introduction to mixed media. London: Dorling Kindersley.

Zebrowska, E. (2014). Multimodal messages. Journal of Multimodal Communication Studies, 1, 8-15.