การศึกษาหนังสือเรียนภาษาไทย ภาษาพาที: ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง1

Main Article Content

รังรอง เจียมวิจักษณ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาและกิจกรรม ในหนังสือเรียนภาษาไทย ภาษาพาที ในด้านความสอดคล้องกับการนำมาใช้สอนผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง ผลการศึกษาพบว่าเนื้อหาและกิจกรรมมีความสอดคล้องครอบคลุมทั้ง 4 ข้อคือ (1) มีพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของ สังคม (2) มีทักษะการดำรงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 (3) มีสุขภาวะที่ดี (4) มีสถาบันทางสังคมที่เข้มแข็ง

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เจียมวิจักษณ์ ร. (2018). การศึกษาหนังสือเรียนภาษาไทย ภาษาพาที: ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง1. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 18(2), 26–54. https://doi.org/10.14456/lartstu.2018.12
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2555). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559ก). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559ข). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (ม.ป.ป.). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2561 จาก math.ipst.ac.th/wp-content/uploads/2015/PDF/Curriculum%202551.pdf

กระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). รายงานการประเมินจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีการพิมพ์.

จิตรา ทองเกิด. (2546). หลักสูตรการศึกษาของชาติ: การพัฒนาจากอดีตสู่ปัจจุบัน. ใน วิชาการวิจักษณ์ (น. 111-146). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

จินตนา ใบกาซูยี. (2538). การเขียนสื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

จิรัสชยาณ์ ปกรณ์คุณารักษ์. (2557). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ปรากฏในหนังสือเรียนวรรณคดีวิจักษ์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2538). ชาติไทย, เมืองไทย, แบบเรียนและอนุสาวรีย์: ว่าด้วยวัฒนธรรม, รัฐ และรูปการจิตสำนึก. กรุงเทพฯ: มติชน.

พงษ์พันธ์ พงษ์โสภา. (2542). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พัฒนาศึกษา.

ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2545). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย (เล่ม1) แนวคิดเชิงทฤษฎีวัยเด็กตอนกลาง (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.

อดุลย์ วังศรีคูณ. (2557). การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21: ผลผลิตและแนวทางการพัฒนา. มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(1), 1-17.