Transnational Gateways Urban Jewish Philanthropy in the Age of Migration

Main Article Content

Tobias Metzler

บทคัดย่อ

     The long nineteenth century was not only a century of mass migration. It also saw the emergence of modern forms of organized philanthropy. Based on a micro-historical comparison of two institutions established in London and Paris around the turn of the century for the purpose of assisting Jewish migrants and transmigrants, this article calls for a revision of traditional views of urban Jewish philanthropy. Rather than being exclusively a site of internal conflicts, philanthropic institutions became spaces where different models of social organization and cultural identity converged and new forms of intra-communal coexistence were established. Besides functioning as local points of entry, these institutions also occupied an important liminal position within transnational migratory networks.

 Keywords:  Philanthropy, Migration, Liminality, Jewish identities

 

     ช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20  ไม่ได้เป็นเพียงศตวรรษของการย้ายถิ่นขนาดใหญ่  แต่ยังเป็นช่วงที่เห็นการเกิดขึ้นของการจัดตั้งองค์กรการให้เพื่อสังคมสมัยใหม่อันมีจุดเริ่มต้นมาจากการเปรียบเทียบทางประวัติศาสตร์ขนาดเล็กระหว่างสองสถาบันที่จัดตั้งขึ้นในช่วงย่างเข้าศตวรรษใหม่ในกรุงลอนดอนและปารีส  เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้อพยพชาวยิวและผู้อพยพย้ายถิ่นฐานออกนอกประเทศ  บทความนี้ต้องการเรียกร้องให้มีการทบทวนแก้ไขมุมมองต่อองค์กรการให้เพื่อสังคมของชุมชนชาวยิวในเมืองที่มีมาแต่โบราณที่เป็นสถานที่อันทำให้เกิดความขัดแย้งภายในชุมชน  แต่ในทางกลับกันสถาบันการให้เพื่อสังคมได้กลายเป็นพื้นที่ที่หลากหลายรูปแบบขององค์กรทางสังคมและวัฒนธรรมภายในชุมชนชาวยิวได้มาบรรจบกันและทำหน้าเป็นทางเข้าสู่ชุมชนสำหรับผู้อพยพ   นอกจากนั้นสถาบันการให้เพื่อสังคมยังมีบทบาทข้ามชาติในการอนุญาตให้ผู้อพยพย้ายถิ่นฐานจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้เช่นกัน  

 คำสำคัญ การให้เพื่อสังคม การอพยพ จุดเปลี่ยนผ่าน อัตลักษณ์ของชาวยิว

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย