การถอดรหัสพฤติกรรมสัตว์ที่บอกนัยการเกิดดินโคลนถล่มในอำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ (Decoding of Animal Behaviors Implying Mudflow Event in Wang Chin District, Phrae Provice)

Main Article Content

มัชฌิมา ศุภวิมลพันธ์

Abstract

The objective of this research is to decode animal behaviors for mudflowforecasting in Wang Chin District, Phrae Province. The study involved 3 steps. Step1:identifying animal behaviors by 1) searching for the local people how had noticed thechanges in the animals’ behaviors or asking the local people who are knowledgeable about animals’ behaviors, and 2) observing animals’ behaviors before a mudflow occurs.Step 2: studying the biological features of the animals and the ecological conditions before the mudflow. This process involved 1) interviewing specialists, and 2) reviewing the documents about animal behaviors related to mudflow. Step 3: synthesizing the
data of the animals’ behaviors in context of mudflow. The findings revealed that there are 6 phenomena: 1) the presence of a large number of frogs (Hoplobatrachus rugulosus),
small green frogs (Microhyla pulchrals molossus), and bull frogs (Occidozga) in the area, 2) the presence of a large number of Enhydris enhydris on the road, 3) the presence of an unusual number of centipedes; 4) the evacuation of land crabs away from the watercourse during the daytime; 5) the evacuation of termites to the higher areas consecutive days and nights; and 6) the presence of a large number of wild fowl in the village.

Article Details

Section
Research Articles

References

1. กนกพันธุ์ ผรณเกียรติ์. (2546). ภูมิปัญญานิเวศท้องถิ่นของชาวป่าเมี่ยงเกี่ยวกับระบบนิเวศลุ่มนํ้าภูเขา :กรณีศึกษาบ้านปางมะโอ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
2. กลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม. (2553). ดัชนีสิ่งมีชีวิต. สืบค้น 1 ตุลาคม 2560, จาก https://www.siamensis.org/species_index?nid=3307#3307--Species : Enhydris enhydris
3. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2549). ภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทย. เอกสารประกอบการเสวนาวิชาการ เรื่อง ภัยพิบัตินํ้าท่วมแผ่นดินถล่มบทเรียนและแนวทางสู่การจัดการทรัพยากรอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่เสี่ยงภัย, 29 สิงหาคม 2549 ณ อาคารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
4. จารุณี วงศ์ข้าหลวง และยุพาพร สรนุวัตร. (2547). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปลวกและการป้องกันกำจัด พิมพ์ครั้ง 2. กรุงเทพฯ : กรมป่าไม้.
5. ณรงค์ฤทธิ์ ศุขปราการ. (2546). ความหลากหลายชนิดและถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกสัตว์เลื้อยคลานในอุทยานแห่งชาตินํ้าตกพลิ้ว จังหวัดจันทบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
6. ณิศ กีร์ติบุตร. 2536. ความรู้เกี่ยวกับปลวก. นครปฐม : สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
7. นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร. (2550). ชีววิทยาครัสเตเชียน. พิมพ์ครั้ง 2. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นต้ง เฮ้าส์.
8. บพิธ จารุพันธุ์, และนันทพร จารุพันธุ์. (2546). สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
9. ประกิต มณีวัฒนเศรษฐ์. (2546). ภูมิปัญญานิเวศเกี่ยวกับการจัดการลุ่มนํ้าของชาวถิ่นบ้านห้วยทรายขาว จังหวัดน่าน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์.
10. พรชัย ปรีชาปัญญา, ชลาธร จูเจริญ, ไพรินทร์ เชื่อมชิต, บุญมา ดีแสง, วารินทร์ จิระสุขทวีกุล, พงษ์ศักดิ์ สหุนาฬุ, Hiroyuki Watanabe, Shinya Takeda, และMamoru Kanzaki. (2545). ภูมิปัญญา
ชาวป่าเมี่ยง (ชา) เกี่ยวกับความยั่งยืนของลุ่มนํ้าภาคเหนือ ประเทศไทย (รายงานผลการวิจัย).กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
11. พรพรรณ แซ่หลิ่ม. (2544). ภูมิปัญญาพื้นบ้านปกาเกอยอเกี่ยวกับการจัดการลุ่มนํ้า : กรณีศึกษาบ้านแม่แฮใต้ หมู่ 9 ตำบลปางหินฝน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12. มัชฌิมา ศุภวิมลพันธ์. (2558). กระบวนการถอดรหัสภูมิปัญญาดินโคลนถล่มในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง(วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต) กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
13. ยศ สันตสมบัติ. (2542). ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน.เชียงใหม่ : นพบุรีการพิมพ์.
14. ยุพาพร สรนุวัตร และจารุณี วงศ์ข้าหลวง. (2546). ปลวกและบทบาทในระบบนิแวศน์. กรุงเทพฯ :อักษรสยามการพิมพ์.
15. ยุพิน พิมโคตร์. (2545). ชนิดและการแพร่กระจายของปูนํ้าจืดบริเวณลุ่มนํ้าคลองอู่ตะเภาและชีววิทยาบางประการ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสงขลานรินทร์.
16. วีรยุทธ์ เลาหะจินดา. (2552). วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
17. สุทธิพงศ์ อาศิรพจน์. (2551). สัณฐานวิทยา การขัน และการใช้พื้นที่ของไก่ป่าตุ้มหูแดงในสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
18. สุวิมล พิริยธนาลัย. 2546. ภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ศึกษากรณีชุมชนประมงพื้นบ้าน จังหวัดปัตตานี. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต) กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
19. อวบ สารถ้อย, จรัล เห็นพิทักษ์, และณิศ กีร์ติบุตร. (2543). ปลวกและปลวกเห็ดในระบบนิเวศที่ควรอนุรักษ์. วารสารส.ก.ว. 7(3), 7-32.
20. Duellman, W.E. & Trueb, L (1986). Biology of Amphibians. New York : McGrew-Hill. Inc.Leutscher, A. (1963). A Study of Reptiles and Amphibians. London : Blandford Press.Howse, P. E. (1960). Termites : A Study in Social Behavior. London : Hutchinson & Co (Publishers) Ltd.