ระบบการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งท่อน้ำดี Care system for patients with cholangiocarcinoma

Authors

  • สมปอง พะมุลิลา
  • บำเพ็ญจิต แสงชาติ

Keywords:

care system, health care system, cholangiocarcinoma, qualitative research

Abstract

บทคัดย่อ

การศึกษาเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระบบการดูแลผูปวยโรคมะเร็งทอนํ้าดี เก็บรวบรวม ขอมูลจากผูใหบริการ 58 คน และผูรับบริการ 64 คน รวม 122 คน โดยใชวิธีการสัมภาษณเชิงลึก วิเคราะหขอมูล โดยการวิเคราะหเนื้อหา ผลการวิจัยพบวา 1) การจัดบริการการดูแลผูปวยโรคมะเร็งทอนํ้าดี ไดแก การเฝาระวัง โรค การสงเสริมการดูแล การรักษา/การจัดการ การสงตอ และการดูแลตอเนื่อง ผลลัพธที่ไดทําใหตรวจพบโรค ไดในระยะแรก เกิดความเชื่อมโยงการดูแลของโรงพยาบาลทั้ง 3 ระดับ และพบผูปวยรอการผาตัดนาน 2) การ ดูแลตนเองของผูปวยและครอบครัว ประกอบดวย การไมกินปลาดิบ การไปตรวจคัดกรองโรค และการไมมารับ บริการตอเนื่อง โดยมีปญหาและความตองการ ไดแก ไมมีเงินคาตรวจวินิจฉัยโรค ยังไมตระหนัก ไมมีผูดูแล และ การเดินทางไปรักษาไกล และ 3) เงื่อนไขในการดูแลตนเอง คือ การชวยเหลือจากชุมชน ความเชื่อตอโรค วัฒนธรรม การกินปลาดิบ สวนเงื่อนไขในการดูแลของหนวยบริการสุขภาพคือ การมีสวนรวมการดูแลในชุมชน การจัด สวัสดิการชวยเหลือ และความเชื่อตอการรักษา ผลการศึกษานําสูการสังเคราะหระบบการดูแลผูปวยโรคมะเร็งทอ นํ้าดีและขอเสนอการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสุขภาพ ผูปวย ครอบครัวและชุมชนใหมีสมรรถนะดูแล ผูป่วย

คําสําคัญ : ระบบการดูแล ระบบบริการสาธารณสุข มะเร็งทอนํ้าดี การวิจัยเชิงคุณภาพ

Abstract

This qualitative study aimed to explore the care system for cholangiocarcinoma patients. The data were collected from 58 service providers and 64 clients by in-depth interviews. The data were analyzed by content analysis. The findings revealed as follows. 1) Care services: These included disease surveillance, care promotion, treatment/management, referral, and continuing care. The results of these services were to the detection of the disease at the early stage. Three levels of care were linked. The patients also had to wait for the operation for a long time. 2) Self-care of patients and families: not eating raw fish, screening for disease, discontinuing care and the problems and needs, including not being afford for disease diagnose, not being aware of the disease, not having caregivers and long distance from care services were found. 3) Self-care conditions: These included community support, belief on disease and eating raw fish culture. The condition of care by health care units included participation in community care, provision of welfare as well as the belief on treatment. The results of the study can be proposed for the care system synthesis for cholangiocarcinoma patients and the development of the potential in providing care for patients of health personnel, patients, families and communities.

keywords: care system, health care system, cholangiocarcinoma, qualitative research

Downloads

Published

2017-06-06

How to Cite

1.
พะมุลิลา ส, แสงชาติ บ. ระบบการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งท่อน้ำดี Care system for patients with cholangiocarcinoma. JNSH [Internet]. 2017 Jun. 6 [cited 2024 Mar. 28];40(3):83-95. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nah/article/view/108279