การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ในจังหวัดพัทลุง The Participation in Academic Administration of the Basic Education Committees under Secondary Educational Service Area Of

Main Article Content

วันวิสาข์ ด้วงสีนวล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โสภณ เพ็ชรพวง
ดร.สมคิด นาคขวัญ

Abstract

The objectives of this research were to study, to compare and suggest the participation in academic administration of the basic education committees under Secondary Educational Service Area Office 12 in Phatthalung Province. The research samples were 26 schools by simple random sampling. Data were collected from Chairperson, school administrator, teacher representative, Parent Representative and Representative of Local Government Organization in the basic education committees’ total 130 persons. By using questionnaire with reliability index of 0.94. The data were analyzed by using mean, standard deviation, t-test, and one-way analysis of variance.


The research findings showed that the overall the Participation in academic administration of the basic education committees was at high level in descending order: learning management, internal educational quality assurance system management, curriculum management, educational supervision, learning media development, educational measurement evaluation and research and development of learning resources. The comparison of the perceived of basic education committees classified by sex, education qualification, position experience, location of school and school size were no different. The schools should give the basic education committees an opportunity to show their roles in promoting support curriculum development, learning activities, media usage, internal educational supervision management and determination the Educational standardization of school.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

เอกสารอ้างอิง

กุลธิดา ซาวคำเขตต์. (2556). การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา อำเภอแม่สาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3.
(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
กุสุมา ศรีจันทร์. (2555). การส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน ในโรงเรียนเชียงคำวิทยาคมจังหวัด
พะเยา. (การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองการศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.
มหาวิทยาลัยพะเยา.
จันทร์ปภัสสร จันทร์พินิจ. (2557). การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของครูโรงเรียนบ้านดอนไผ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
ดิเรก อนันต์. (2556). การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่ศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 1. (สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชา
การบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
เด่นมหาชัย นันธิษา. (2557). การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารงานวิชาการ
ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
นิลรัตน์ นวกิจไพฑูรย์. (2557, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนาสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนและผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสอนแบบมีส่วนร่วม 4 P. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 6(2).
ประภาสชาตินันท์. (2555). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษากับ
การมีส่วนร่วมการบริหารงานวิชาการของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยาเขต 1. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
ปัญญา เลิศไกร, ลัญจกร นิลกาญจน์. (2559, กรกฎาคม–ธันวาคม). การเก็บข้อมูลวิจัยชุมชนภาคสนาม.
วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 8(2).
ปลื้มพร ประไพพงษ์. (2556). การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารงานวิชาการ
โรงเรียนสังกดัเทศบาลนครจังหวดันนทบุรี. (สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

ไปรผดา โปติบุตร. (2555). การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานต่อการบริหารจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอำเภอสารภี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4. เชียงใหม่: รายงานวิจัยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4.
มณเฑียร รอดประเสริฐ. (2554). แนวทางการมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอุทัยธานี. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
ราตรี พูลพัฒน์. (2553). การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารงานของโรงเรียน
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). สาขายุทธศาสตรการพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2552). การบริหารวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: นำศิลป์.
รุสดีย์ดอหะ. (2556). การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารจัดการเรียนการสอน
อิสลามศึกษาในโรงเรียนของรัฐที่จัดการศึกษาอิสลามแบบเข้มสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดนราธิวาส. (วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
เรวัตร ชัยจำรัส. (2555). พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการทำงานเป็นทีมใน
โรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการบริหารการศึกษาอำเภอท่าคันโทสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์เขต 2. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ลัญจกร นิลกาญจน์. (2557, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 6(2).
ศุภรัตน์ ชำนิธุระการ. (2558). การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
เศรษฐชัย วิสาทาโส. (2556). การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศึกษามหาสารคาม เขต 2 (การบริหารการศึกษา). (พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาการบริหารจัดการ, คณะสงฆ์. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย