การพัฒนาการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น โดยใช้หลักการบริหารอย่างมี ธรรมาภิบาลของเทศบาลตำาบลตาลเลียน อำาเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี

Main Article Content

ปวรรณรัตน์ หอมหวล
เรือน สมณะ
อัจฉรา จินวงษ์

Abstract

     การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น โดยใช้หลักการบริหารอย่างมีธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบลตาลเลียน อำาเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ประชากร คือ คณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการและผู้รับบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ จำานวน 1,234 คน กลุ่มตัวอย่าง จำานวน 50 คน ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหาร 16 คน คณะอนุกรรมการ 14 คนและผู้รับบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ 20 คน คัดเลือกโดยใช้เกณฑ์คัดเข้าคัดออก เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินการบริหาร เป็นคำาถามปลายปิด มีค่าความสอดคล้องของเนื้อหาเท่ากับ 1.00 แบบทดสอบความรู้ แบบถูกผิด มีค่าอำานาจจำาแนกรายข้อระหว่าง 0.30 – 0.79 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.85 ใช้รวบรวมข้อมูลก่อนและหลังการพัฒนา แบบสังเกตกระบวนการ เป็นคำถามปลายเปิด มีค่าความสอดคล้องของเนื้อหาเท่ากับ 1.00 และแนวคำาถามในการสนทนากลุ่ม เป็นคำาถามปลายเปิด มีค่าความสอดคล้องของเนื้อหาเท่ากับ 1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุดและสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ Paired t-test ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคก่อนการพัฒนา ได้แก่ 1) ศักยภาพคณะกรรมการ 2) การกำาหนดอำานาจหน้าที่ 3) การสร้างการรับรู้ของชุมชนต่อกองทุน 4) การติดตามประเมินผล 5) การมีส่วนร่วม 6) นวัตกรรมสุขภาพชุมชน การแก้ไขปัญหา พบว่า กระบวนการพัฒนาการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นโดยใช้หลักการบริหารอย่างมีธรรมาภิบาล ซึ่งประกอบด้วย 1) วิเคราะห์สภาพปัญหา 2) กระบวนการสนทนากลุ่มและสังเคราะห์แนวทาง 3) ทำาแผนปฏิบัติการ 4) ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการ 5) นิเทศและประเมินผล 6) สรุปและข้อเสนอแนะ ส่งผลให้หลังการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำาบลตาลเลียนมีผลการประเมินการบริหารอยู่ในระดับดีมาก (A+) คณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการ และผู้รับบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ มีความรู้เกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นและกับการบริหารอย่างมีธรรมาภิบาลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปัจจัยแห่งความสำาเร็จ คือ 1) ความรู้ความเข้าใจในงาน 2) การกำาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ 3) การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ 4) มีการติดตามและประเมินผล 5) การมีส่วนร่วมปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนา ประกอบด้วย 1) การมีส่วนร่วม 2) นวัตกรรมสุขภาพชุมชน ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1) จัดทำาผ้าป่าสุขภาพ 2) พัฒนาศักยภาพชุมชน 3) ประกวดนวัตกรรมสุขภาพชุมชน วิธีการปฏิบัติที่ดีที่ได้จากการพัฒนา ได้แก่ 1) การวางแผนแบบมีส่วนร่วม 2) การทบทวนการบริหารจัดการ 3) การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ 4) มีศูนย์เรียนรู้และรับเรื่องร้องทุกข์ 5) ชุมชนสมทบทุนเงิน เข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น

     This action research aimed to develop local health insurance fund management using good governance principles of Tan Lian Sub-district Municipality, Kut Chap district, Udon Thani province. The population was executive committee members, subcommittee members, and service receivers of the complete set of benefi ts totally 1,234 people. A sample of 50 people consisted of 16 executive committee members, 14 subcommittee members, and 20 service receivers of the complete set of benefi ts who were selected using inclusion and exclusion criteria. The instruments used were a form for assessing management with closed-ended questions which had a value index of item-objective congruence (IOC) equal to 1.00, a true-false test of knowledge which had discrimination power values of individual items ranging from 0.30 to 0.79 and entire reliability coeffi cient of 0.85, a form for observing the procedure with open-ended questions which had a value index of IOC equal to 1.00. Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, minimum and maximum values and paired t-test for hypothesis testing. The fi ndings disclosed as follows: 1) the problems and obstacles found before the development included: 1) potential of committee members, 2) determination of authority, 3) creating recognition of the fund in the community, 4) follow-up and evaluation, 5) participation, and 6) community health innovation. As for the problem solution, the process of developing local health insurance fund management using good governance principles comprised: 1) analysis of the problem state, 2) process of the focus group discussion and synthesis of how to resolve it, 3) making an action plan, 4) following the action plan, 5) supervision and evaluation, and 6) conclusion and suggestion. After the development of local health insurance fund management of Tan Lian Sub-district Municipality, it was found that the result of evaluating the management was at very good level (A+). Executive committee members, subcommittee members and service receivers of the complete set of benefi ts had a signifi cant difference in knowledge of local health insurance fund and good governance principles at the .05 level. The key factors of success comprised: 1) knowledge and understanding of work, 2) assignment of duties and responsibilities, 3) communication and public relations, 4) follow-up and evaluation, and 5) participation. The problems and obstacles in development were composed of: 1) participation, and 2) community health innovation. The suggestions were: 1) organizing the robe offering ceremony of Buddhists for health fund raising, 2) developing potential of the community, and 3) holding a contest of community health innovations. The good practice methods from the development were: 1) making a participatory plan, 2) review of management, 3) development of potential among the committee members, 4) having a learning center and grievance procedure, and 5) participation of community in donation of money to raise the local health insurance fund.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research article)