การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน

Main Article Content

amorn SUWANNIMITR
นงเยาว์ - มีเทียน
สุภาพร - อาญาเมือง

Abstract

    การวิจัยเชิงปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ศึกษาในกลุ่มผู้สูงอายุจำนวน 380 คน  การวิจัยแบ่งออก 3 ระยะ คือ 1) ศึกษาบริบท สถานการณ์ปัญหา ความต้องการการดูแล และปัจจัยการสนับสนุนทางสังคม 2) วางแผนและปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และ 3) ประเมินผลรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน

    ผลการศึกษาผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพที่ซับซ้อนจากการเจ็บป่วยเรื้อรัง มีความต้องการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม การเอาใจใส่จากคนในครอบครัว ญาติ และการสนับสนุนจากอาสาสมัครในชุมชน การออกแบบปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มุ่งเน้น 1) การสนับสนุนการเข้าร่วมกลุ่มทางสังคม 2) การพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเอง และ 3) การเสริมพลังอำนาจผู้ดูแล

    การประเมินผลภายหลังปฏิบัติการ พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมและการเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น เช่นเดียวกับผู้ดูแลที่ได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จึงสรุปได้ว่ารูปแบบที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมกับการดูผู้สูงอายุในชุมชน

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biographies

amorn SUWANNIMITR, Fac.of Nursing Mahasarakham University Mahasarakham,Thailand 44150

Department of Community Nursing

นงเยาว์ - มีเทียน, Fac.of Nursing Mahasarakham University Mahasarakham,Thailand 44150

Department of Adult Nursing

สุภาพร - อาญาเมือง, Fac.of Nursing Mahasarakham University Mahasarakham,Thailand 44150

Department of Community Nursing

References

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2553). แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 –2564) ฉบับปรับปุรงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552. กรุงเทพมหานคร: เทพเพ็ญวานิสย์.

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2553).ทุนทางสังคม. วันที่ค้นข้อมูล 1 กรกฎาคม 2559.เข้าถึงได้จาก http://www.m-society.go.th/document/edoc/edoc_5730.pdf.

กระทรวงสาธารณสุข.ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย. .พ.ศ. 2559. วันที่ค้นข้อมูล

กรกฎาคม 2559. เข้าถึงได้ที่ http://www.info.dmh.go.th/ilaw/files/mophplan_2559_final_0.pdf.

จินตนา อาจสันเที๊ยะ และ พรนภา คำพราว. (2557). รูปแบบการดูแลสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน.วารสารพยาบาลทหารบก 15(3),

ก.ย. - ธ.ค., 123-127.

จีราพร ทองดี, ดาราวรรณ รองเมือง, ฉันทนา นาคฉัตรีย์. (2014). ภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดชายแดน

ภาคใต้.วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 22(3); 88-99.

ชุลีกร ด่านยุทธศิลป์ และ สุรินธร กลัมพากร.(2554). การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเจ็บป่วยเรื้อรังในชุมชน.วารสารสาธารณสุขศาสตร์

ฉบับพิเศษ ๘๔ พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช; 99-108.

แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2545-2564).คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ. กระทรวงพัฒนาการสังคมและมนุษย์.พิมพ์

ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ: เพ็ญวานิสย์.

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564. วันที่ค้นข้อมูล 1 ตุลาคม 2559.เข้าถึงได้ที่

http://www.nesdb.go.th/download/plan12.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ประยุตโต).(2533). การดูแลแบบองค์รวมวิถีพุทธ. วันที่ค้นข้อมูล 1 ธันวาคม.2559. เข้าถึงได้ที่

http://www.ebooks.in.th/

ไพบูลย์ พงษ์แสงพันธ์ และ อนัฐฌา ปิ่นแก้ว. (2015). ความสำคัญของเครือข่ายเกื้อหนุนผู้สูงอายุในชุมชน. The

Public Health Journal of Burapha University.10(2);July – December, : 109-116.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2557). รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้น

ติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง

ยุทธนา พูนพานชิ และ แสงนภา อุทัยแสงไพศาล. (2557). รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพโดยชุมชนเพื่อรองรับสังคม

ผู้สูงอายุ.วารสารวิชาการสาธารณสุข. 23(2); มีนาคม –เมษายน, 226-238.

รศรินทร์ เกรย์ และสาลินี เทพสุวรรณ.(2557).ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดของดูแลผู้สูงอายุ.สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์

และมนุษยศาสตร์. 20(1);203-228.

เล็ก สมบัติ. (2549). โครงการภาวการณ์ดูแลผู้สูงอายุของครอบครัวในปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร: มิสเตอร์ ก๊อปปี้.

ศศิพัฒน์ ยอดเพชร; เล็ก สมบัติ; ปรียานุช โชคธนวณิชย์; ธนิกานต์ ศักดาพร. ตัวแบบการดูแลผู้สูงอายุที่ดีของครอบครัวและ

ชุมชนชนบทไทย. วันที่ค้นข้อมูล 15 ธันวาคม 2559.เข้าถึงได้จากhttp://kb.hsri.or.th/dspace/handle/

สำนักงานสถิติแห่งชาติ.รายงานผลเบื้องต้น สำรวจประกรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557. วันที่ค้นข้อมูล 1 ธันวาคม

เข้าถึงได้ที่ https:// www http://web.nso.go.th/en/survey/age/older07.htm.

อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ.(2010). แรงสนับสนุนทางสังคม: ปัจจัยสำคัญในการดูแลผู้ที่เป็นเบาหวาน.Rama Nurs J. May

- August,16 (2); 309-322.

Akua Kulprasutidilok.(2016).Community‐Based Participatory Research in Elderly Health Care of Paisanee

Ramintra 65 Community,Bangkok, Thailand. World Academy of Science, Engineering and Technology

International Journal of Social, Behavioral, Educational, Economic, Business and Industrial Engineering

(6) : 1997-2001.

Berkman LF,Glass T,Seeman TE. (2000). From social Integration to health: Durkhiem in the new millennium.

Soc Sci Med. 51; 843-857.

House J. S., Umberson D., and Landis K. R. (1988). Structures and Processes of Social Support. Annual Review

of Sociology,14, 293-318.

Hunt R.(2013). Community-Base Nursing. Philadelphia: Wolters Kluwer/Lippincott Williams&Wilkins.

Kattika Thanakwang. (2008). Social network and Social Support Influencing Health-Promoting Behaviors

among Thai Community-Dwelling Elderly Thai Journal Nursing.12(4); 243-257.

Piyathida Kuhnirunyaratn et al.(2007). Social Support among Elderly in Khon Kaen,Thailand Southeast Asia J

Trop Med Public Health.38(5);936-946.

Uchino BN. (2004).Understanding the links between Social support and physician health. .Perspectives

on Psychological Science.1(3); 236-255.

Wanphen Punnaraj, Khanitta Nuntaboot, Chintana Leelakraiwan, Buapan Prompakping.(2010).A Community Capacity Enhancement Model for Care of the Elderly.

Wallace M. (2008). Essential of Gerontological Nursing. New York: Springer. Pacific Rim Int J Nurs Res, 14(4),

October – December:360-371.

World Health Organization (WHO). (2002).. A policy framework of Active aging. A contribution of the

World Health Organization to the second united nation world assembly on aging. Madrid, Spain.

World Health Organization (WHO). (2015). World report on ageing and health.Retrieved in July 1,2016. From

http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/186463/1/9789240694811_eng.pdf.

Translated Thai References

The ministry of Social Development and Human Security. (2010). National Committee on the Elderly.

The 2nd National Plan on The Elderly National Plan on The Elderly. (2002-2021). 1st Revised of

Bangkok: Tephenvanis. [In Thai]

The Ministry of Social Development and Human Security. (2010). Social Capital. Retrieved in July 1,2016. From

http://www.m-society.go.th/document/edoc/edoc_5730.pdf. [In Thai]

Ministry of Public Health. 1st Strategy of Ministry of Public Health. Health Development of Age.(2016). [In Thai]

Retrieved in July 1, 2016. From http://www.info.dmh.go.th/ilaw/files/mophplan_2559_final_0.pdf.

[In Thai]

Jintana Artsanthia and Pornnapa Kampraw.(2014). Modality of Care for the Older Adults in Community.

Journal of The Royal Thai Army Nurses. 15(3); (Sep – Dec), 123-127. [In Thai]

Jeraporn Tongdee,Daravan Rongmuang, and Chantana Nakchatree.(2014). Health Status and Quality of Life

among the Elderly in the Southern Border Provinces of Thailand. Nursing Journal of the Ministry of

Public Health. 22(3); 88-99. [In Thai]

Chuleekorn Danyuthasilpe and Surintorn Kalampakorn. (2011). Caring for Elderly with Chronic Illness in the

Community. Journal of Public Health. Special Issue on the 84th Birthday Celebration

of King Bhumibol Adulyadej. 99-108. [In Thai]

The Twelve National Economic and Social Development Plan B.E. 2560 – 2565 (A.D. 2017 – 2021). Retrieved

in Oct 1, 2016. From http://www.nesdb.go.th/download/plan12. [In Thai]

Phra Brahmagunabhorn (P.A. Payutto).(1990). Buddhism Holistic Care. Retrieved in Dec 1, 2016. From

http://www.ebooks.in.th/.[In Thai]

Paiboon Pongsaengpan and Anattacha Pinkaew.(2015).Social Support and Networks for the Elderly in

Community.The Public Health Journal of Burapha University. 10(2);July – December, 109-116.

[In Thai]

Foundation of Thai Gerontology Research.and Development Institute (TGRI).(2014). Situation of the Thai

Elderly 2014. Bankok: Amarin Printing and Publishing. [In Thai]

Yuttana Poonpanich and Saengnapha Uthaisaengphaisan.(2014). Community Healthcare Promotion: Preparing

for Aged Society. Journal of Health Science.23(2); March – April, 226-238. [In Thai]

Rossarin Gray and Sasinee Thapsuwan. Factors Affecting on Stress ofCaregivers to Older Persons.

Songklanakarin Journal of Social Sciences and Humanities. 20(1);203-228. [In Thai]

Lek Sombat.(2006). Family’ s Care for the Older Person’s Today. Bangkok: Mr.Copy. [In Thai]

Sasipat Yodpet Lek Sombat Preeyanuch-choktanawanich and Thanikan Sakdaporn. Good models on the

elderly care by family and community in rural areas in Thailand. Retrieved

in Dec 15, 2016. From http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/.[In Thai]

The National Statistical Office. Older Persons in Thailand 2014. Retrieved

in Dec 1, 2016. From www http://web.nso.go.th/en/survey/age/older07.htm. [In Thai]

Apinya Siripitayakunkit . (2010). Social Support: An Important Factor to Care for Persons with Diabetes Mellitus.

Rama Nurs J. May - August,16 (2); 309-322. [In Thai]