สมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม

Main Article Content

Sakaorat Kraichan

Abstract

     การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม ปีการศึกษา 2558 จำนวน 102 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพด้านการสร้างเสริมสุขภาพ หาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือโดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .94 เก็บรวมรวมข้อมูลด้วยตนเอง สถิติที่ใช้การหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


     ผลการวิจัยพบว่าสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของนักนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคามพบว่าอยู่ในระดับปานกลางถึงมาก (= 3.66 SD = 0.47) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือด้านปฏิบัติกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ (= 3.75 SD = 0.51) รองลงมาคือด้านบริหารจัดการในการสร้างเสริมสุขภาพและด้านการพัฒนาภาคีเครือข่ายการสร้างเสริมสุ ภาพ (= 3.69 SD = 0.53 = 3.65 SD = 0.53) ตามลำดับส่วนด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุดคือด้านการวิจัยและการจัดการความรู้ (= 3.67 SD = 0.67) 

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research article)

References

เกศศิริ วงศ์คงคำ และปิยะธิดา นาคะเกษียร. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของ

พยาบาลวิชาชีพในเขตพื้นที่ภาคกลาง. วารสารการพยาบาล. 34(2),102-116.

จอนผะจง เพ็งจาด และเต็มดวง บุญเปี่ยมศักดิ์. (2556). การบูรณาการแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพในการจัดการเรียน

การสอนรายวิชาการพยาบาล : ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ. 36(1),82-91.

ปวีณา ลิ้มสุทธาวรพงศ์. (2553). รายงานวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการ สร้างเสริมสุขภาพของพยาบาล

วิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการ สาธารณสุขที่ 6. (สืบค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2558); เข้าถึงข้อมูลจาก

http://dric.nrct. go.th/.

ยุวดี ลือชาและคณะ. (2551). การประเมินสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาตรี;

วารสารสภาการพยาบาล. Vol 23(3),85-94.

วรรณภา ศรีธัญลักษณ์ และคณะ. (2555).เส้นทางการสร้างสมรรถนะสร้างเสริมสุขภาพองค์รวม.ขอนแก่น:คลังนานา

วิทยา.

วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม. (2555). เอกสารหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2555)

ศิริพร ขัมภลิขิต จุฬาลักษณ์ บารมี. [บรรณาธิการ]. คู่มือการสอนการสร้างเสริมสุขภาพในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต.

ขอนแก่น : แผนงานพัฒนาเครือข่ายพยาบาลศาสตร์เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพระยะที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2555

อนัญญา คูอาริยกุล และศศิธร ชิดนายี. (2558). สมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์

ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์. 7(1),

-62.

Kongkham K and Nakakasain P. (2559). Factors related to health promotion performance of professional

nurses in the central region. Journal of Nursing. 34 (2), 102-116. [in Thai]

Pengchad J and Bunpiumsak. T (2556). Integrating Health Promotion Concepts in Learning Management.

Teaching Nursing: Theory and Practice .Journal of Medicine and Health 36 (1), 82-91. [in Thai]

Limsuthavarapong P. (2010). Research on Factors Influencing Performance Health Promotion of

Professional Nurses Community Hospital Health Inspectorate Region 6 (Retrieved March 4, 2015);

Access data from Http: //dric.nrct. Go.th/.[in Thai]

Luecha Y. et al. (2008). An Evaluation of health promotion Competencies of undergraduate nursing

students; Thai Journal of Nursing Council. Vol 23 (3), 85-94. [in Thai]

Srithunlaluk W et al. (2012). Nursing Role of Holistic in Health promotion. Khon Kaen: The Nana Store

science. [in Thai]

Sri Maha Sarakham College of Nursing (2012). Nursing Science Program (Updated 2012)

Khamlikit S , Baramee Ch, Editors, (2012) Handbook of Teaching Health Promotion in Nursing Science

Program. Khon Kaen: Development Plan for Nursing Network for Health Promotion Phase 2 Faculty of Nursing Khon Kaen University, [in Thai]

Ku-arikul A. and Chidayanee S. (2015) Health promotion performance of the second year nursing students

in Boromarajonani College of Nursing, Uttaradit. Journal of Boromarajonani College of Nursing

Uttaradit 7 (1),54-62. [in Thai]