พัฒนาการความคิดและปรัชญาทางการเมืองของอินเดีย

ผู้แต่ง

  • piyanat soikham คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

ความคิดทางการเมือง, ปรัชญาการเมือง, พัฒนาการ, อินเดีย

บทคัดย่อ

บทความนี้ได้ทดลองสำรวจพัฒนาการของความคิดและปรัชญาทางการเมืองและการปกครองของอินเดียที่สำคัญ โดยแบ่งออกเป็น 3 ยุคที่สำคัญคือยุคโบราณ ยุคกลาง และยุคใหม่ ผ่านการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความคิดและปรัชญาทางการเมืองและการปกครองของสังคมอื่น ๆ เพื่อก้าวข้ามการครอบงำทางองค์ความรู้ของตะวันตก จากการศึกษาพบว่าความคิดและปรัชญาทางการเมืองที่เกิดขึ้นในแต่ละยุคของอินเดียล้วนมีพลวัตที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ความคิดทางการเมืองของอินเดียสมัยโบราณ เป็นความพยายามในการสร้างกรอบสำคัญในการกำหนดรูปแบบที่ควรเป็นของการใช้ชีวิตมนุษย์และโครง สร้างของสังคมเพื่อให้สอดคล้องสัมพันธ์กับเงื่อนไขของวัฏจักรเวลา ด้านความคิดและปรัชญาทางการเมืองของอินเดียยุคกลาง สะท้อนถึงความยิ่งใหญ่ของ 3 นักคิดชาวอินเดียประกอบไปด้วยพระพุทธเจ้า พระมนู และโกติญญะที่สามารถสร้างสรรค์แนวคิดจากการรวบรวมข้อคิดเห็นและการถกเถียง ในขณะที่ความคิดและปรัชญาทางการเมืองของอินเดียสมัยใหม่ ช่วยสะท้อนประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากความคิดทางการเมืองที่มีอยู่แต่เดิม รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเข้ามาของแนวคิดตะวันตกผ่านระบบอาณานิคมและความเป็นสมัยใหม่ ผ่าน 4 นักคิดที่สำคัญคือ รามโมฮัน รอย มหาตมะคานธี ยาวหะราล เนห์รู และ ดร.บีอาร์ อัมเบดการ์ ทั้งนี้ความต่างในฐานคิดทางการเมืองและการปกครองของตะวันตกอาจไม่ใช่คำตอบที่สมบูรณ์เสมอไป การหันมาศึกษาความคิดและปรัชญาทางการเมืองของอินเดีย ย่อมจะช่วยให้เข้าใจและรู้จักสังคมดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยสะท้อนภาพของความพยายามแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตามบริบทของแต่ละสังคม

References

Books:
Ambedkar, B. R. (2007). Annihilation of Caste. New Delhi: Critical Quest.

Arora, N. D. (2010). Political Science for Civil Services Main Examination. New Delhi: Tata McGraw Hill.

Arora, P., & Grover, B. (1998). Selected Western and Indian Political Thinkers. Gurgaon: Bookhive .

Bhattacharyya, A. (2006). Hindu Dharma: Introduction to Scriptures and Theology. New York: iUniverse, Inc.

Chadra, A. M. (2007). India Condensed: 5000 years of history and culture. Singapore: Marshall Cavendish Motihar.

Garawigo, P. (2015). The Ten Royal Virtues and Good Educational Administrators. Karusart Paritasna (Vol. 2 No.3), 122-131.

Government of India. (2007). Preamble: The Constitution of India. New Delhi: Ministry of Law and Justice.

Kabilakan, N. (2003). World History and Civilisation. Bangkok: O. S. Printing House.

Maluleem, J. (2016). Indian Studies: Politics, Foreign Affairs, Religion, Society and Culture. Bangkok: Siam Publisher.

Pasupuleti, D. V. (2018). A tribute to motherland. New York: Page Publishing Inc.

Roy, H. (2011). Nehru: Ideas of Development. In M. P. Singh, & H. Roy, Indian Political Thoughts (pp. 166-173). New Delhi: Dorling Kindersley (India) Pvt. Ltd.

Sen, A. P. (2011). Rammohan Roy: Civil Rights. In M. p. Singh, & H. Roy, Indian Political Thoughts (pp. 54-69). New Delhi: Dorling Kindersley (India) Pvt. Ltd.

Sharma, A. (1982). The Purusharthas: A Study in Hindu Axiology. East Lansing, MI: Asian Studies Center, Mishigan State University.

Singh, M. P., & Roy, H. (2011). Indian Political Thought. New Delhi: Doling Kindersley (India) Pvt. Ltd.

Sinha, N. (2011). Manu: Social Laws. In M. P. Singh, & H. Roy, Indian Political Thought (pp. 18-29). New Delhi: Dorling Kindersley (India) Pvt. Ltd.

Soikham, P. (2013). India’s Reservation Quota and the Rights of Marginalised People. National Conference for Political Science and Public Admibistration. Ubon Ratchathani: Ubon Ratchathani University.

Soikham, P. (2018). Two Ocean Strategy: India and the Indo-Pacific. Security Studies Vol. 202, 1-41.

Sridhar, N. (2015). Samanya Dharma and Spirituality. Prabuddha Bharata, 562-569.

Sukumar, N. (2011). Ambedkar: Democracy and Economic Theory . In M. p. Singh, & H. Roy, Indian Political Thoughts (pp. 211-239). New Delhi: Dorling Kindersley (India) Pvt. Ltd.

Tammita-Delgoda, S. (2009). The Indus Valley Civilization, prehistory to 1500 BC in A traveler’s history of India. Wiltshire: CPI Antony Rowe.

Website:
Agrawal, V. (2017, December 12). Sources of Hindu Dharma – I. Retrieved from India Facts: http://indiafacts.org/sources-hindu-dharma-1/

Das, S. (2018, August 10). The 4 Stages of Life in Hinduism. Retrieved from Learning Religions: https://www.learnreligions.com/stages-of-life-in-hinduism-1770068

Gautam, P. K. (2013, June 20). Understanding Kautilya’s Four Upayas. Retrieved from Institute for Defence Studies and Analyses: https://idsa.in/idsacomments/UnderstandingKautilyasFourUpayas_pkgautam_200613

Downloads

เผยแพร่แล้ว

18-06-2019