On Approximate Monetary Value on TuitionFees for Educational Quality : The Case of Thaksin University

Main Article Content

พินิจ ดวงจินดา

Abstract

การบริหารการศึกษาที่เป็นเลิศนั้นไม่ใช่การให้ความสำคัญเฉพาะ คุณภาพการศึกษาที่ดีขึ้นเพียงอย่างเดียว แต่ควรคำนึงการจัดสรรงบประมาณ ที่เหมาะสมโดยเฉพาะมหาวิทยาลัยในกำกับ การศึกษานี้ใช้นิสิตมหาวิทยาลัย ทักษิณ 400 กลุ่ม ตัวอย่าง สอบถามความพึงพอใจและความต้องการต่อคุณภาพ การศึกษา วิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม SPSS และ E-views ผลการศึกษาพบว่า นิสิตมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการศึกษาน้อยกว่าความต้องการคุณภาพการ ศึกษา การประเมินมูลค่าคุณภาพศึกษานี้ใช้แนวคิด Hedonic price model ผลการศึกษายืนยันให้เห็นว่า นิสิตมีความเต็มใจจะจ่ายถ้ามีการปรับปรุง หลักสูตรและการเรียนการสอน แต่จะไม่มีความเต็มใจจ่ายเงินค่าลงทะเบียน กรณีนำเงินไปใช้เพื่อการบริการวิชาการสังคม และอายุของนิสิต จำนวนปีที่ใช้ ในการศึกษา ระดับการศึกษา และวิทยาเขตการศึกษาที่แตกต่างกันส่งผลต่อ ความเต็มใจจะจ่ายเพื่อการศึกษาแตกต่างกัน ผลการศึกษาเสนอแนะว่า มหาวิทยาลัยควรบริหารการศึกษาอย่างเหมาะสมเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนภายใต้ สภาวะการแข่งขันด้านการศึกษาในปัจจุบัน


 


On Approximate Monetary Value on Tuition Fees for Educational Quality : The Case of Thaksin University


Pinit Duangchinda


An excellent of educational management is not only to obtain high quality but also to optimal budget in term of Autonomy University. Data obtained from 400 questionnaires were analyzed using SPSS and E-views program. The survey focused on preference and demand the level of educational quality of the Thaksin students was conducted and the results are showed student’s preference on educational quality less than student’s demand on educational quality. Hedonic price modeling is estimated educational quality refer from tuition fees. Results show that academic program and curriculum management is positive and statistically significant of willingness to pay for tuition fees. The student, however, is not willingness to pay for academic service for social. Age of student, a number study in university, level of graduate and a difference campus is statistically significant for student’s tuition fees. The university should be an appropriate management for sustainable growth in competitive education.

Article Details

How to Cite
ดวงจินดา พ. (2015). On Approximate Monetary Value on TuitionFees for Educational Quality : The Case of Thaksin University. Parichart Journal, 27(3), 38–49. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/parichartjournal/article/view/43076
Section
Academic Article