ความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์อาข่า อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย

Main Article Content

Manuchet Manotham

บทคัดย่อ

ความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์อาข่า อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย


Knowledge and Behaviors for Healthcare of Akha Ethnic Group in Mae Suai District, Chiang Rai Province, Thailand


การวิจัยภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและหาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์อาข่าในเขตอำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนกลุ่มชาติพันธุ์อาข่า จำนวน 200 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเฉพาะผู้ที่มีอายุ 15-80 ปี ที่ให้ความร่วมมือและสามารถสื่อสารได้และกำหนดโควตาตามกลุ่มอายุ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความรู้และระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ โดยใช้สถิติ Spearman’s Rank Correlation Coefficient ผลการวิจัย พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 53.5) อายุ 26-35 ปี (ร้อยละ 25.1) สถานภาพสมรสคู่ (ร้อยละ 66.5) ไม่ได้เรียนหนังสือ (ร้อยละ 62.0) มีอาชีพเกษตรกร (ร้อยละ 64.5) นับถือศาสนาคริสต์ (ร้อยละ 66.5) และไม่มีโรคประจำตัว (ร้อยละ 91.5) มีระดับความรู้ในการดูแลสุขภาพอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 69.5) มีระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยู่ในระดับพอใช้ (ร้อยละ 71.5) และมีความสัมพันธ์ทางสถิติระหว่างระดับความรู้และระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01


The purpose of this cross-sectional study focused on exploring the correlations between healthcare knowledge and behaviors of Akha Ethnic Group in Mae Suai District, Chiang Rai Province. For data collection, 200 Akha respondents with the ages of 15-85 were selected by quota sampling technique. A self-administered questionnaire with construct validity of 0.99, KR-21 reliability of 0.73, and the Cronbach's alpha reliability of 0.81 was used for data collection. The data were analyzed using frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, and the Spearman's rank correlation coefficient. The results of the study revealed that there were 53.50% female informants, with the ages of 26-35 (±S.D. = 40.00±15.64), married (66.50%), no education (62.00%), agricultural work (64.50%), and Christian (66.50%). They had no congenital disease (91.50%) and no past history of illness (99.00%). Their healthcare knowledge was at a high level (69.50%). Their behavior toward healthcare was at a moderate level (71.50%). The knowledge and behaviors for healthcare were positively related (r = 0.320, p = 0.000). We recommend that the results of this study can be used for developing the Akha’s healthcare behaviors in regards to nutritional behaviors, environmental cares, as well as emotional management and physical fitness.


 

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Articles)
Author Biography

Manuchet Manotham, 0841744894

Thailand Citation Index Centre

References

1. พิพิธภัณฑ์ชนเผ่า. ชนเผ่าอาข่า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://akha.hilltribe.org/thai/ (วันที่ค้นข้อมูล 4 ธันวาคม 2560)
2. สังฆมณฑลเชียงใหม่. ลักษณะอุปนิสัยดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวอาข่า (อีก้อ). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.cmdiocese.org/th/ethnic/akha/34-34 (วันที่ค้นข้อมูล 4 ธันวาคม 2560)
3. พินิจ กุลละวณิชย์. โรคไม่ติดต่อ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.naewna.com/lady/columnist/32081 (วันที่ค้นข้อมูล 6 ธันวาคม 2560)
4. Nugent R. Chronic diseases in developing countries: Health and economic burdens. Ann N Y Acad Sci 2008;1136:70-9.
5. Tokunaga M, Takahshi T, Singh RB, Rupini D, Toda E, Nakamura T, et al. Diet, nutrients andnoncommunicable diseases. Open Nutraceuticals J 2012;5:146-59.
6. Apidechkul T, Wongnuch P, Sittisarn S, Ruanjai T. Health situation of Akha Hill Tribe in Chiang Rai
Province, Thailand. J of Public Health and Development 2016;14(1): 77-96.
7. สำนักสื่อสารความเสี่ยงและการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. การประเมินการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ พฤติกรรมสุขภาพของประชาชน. กรุงเทพฯ. ห้างหุ้นส่วนจำกัด สำนักพิมพ์ อักษรกราฟฟิค แอนด์ ดีไซน์; 2557.
8. สำนักสื่อสารความเสี่ยงและการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. การรับรู้ของประชาชนชาวไทยต่อโรคไวรัสอีโบลา (EVD). กรุงเทพฯ. บริษัท แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จำกัด; 2558.
9. เชียงรายอัฟเดต. ดอยช้างจังหวัดเชียงราย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://chiangraiupdate.com/doichang/ (วันที่ค้นข้อมูล 6 ธันวาคม 2560)
10. องค์การอนามัยโลก (WHO). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.un.or.th/th/staff/องค์การอนามัยโลก-who/ (วันที่ค้นข้อมูล 26 มิถุนายน 2561)
11. Suriwong P. แนะใช้หลัก 3อ. 2ส. ลดการเกิดโรค. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.thaihealth.or.th/Content/29607- (วันที่ค้นข้อมูล 26 มิถุนายน 2561)
12. Bloom B. S. Learning for mastery. Evaluation Comment (UCLA-CSIEP) 1968;1(2): 1-12.
13. ธานินทร์ ศิลป์จารุ. การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ. บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี; 2552.
14. ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง. โครงการสร้างเสริมศักยภาพภาคีเครือข่ายในศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง (ศศช). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://hhdc.anamai.moph.go.th/
ewt_news.php?nid=210&filename=index (วันที่ค้นข้อมูล 1 สิงหาคม 2561)
15. ไพรวัลย์ โคตรตะ, กชพงศ์ สารการ, และปาริชาต รัตนราช. ปัจจัยบางประการที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในวัยผู้ใหญ่. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2559; 10(1): 25-31.
16. วิชาญ ปาวัน, กรัณฑรัตน์ บุญช่วยธนาสิทธิ์, จักรกฤษณ์ พลราชม, และมาสริน ศุกลปักษ์. การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ และพฤติกรรมการป้องกันโรคและภัยสุขภาพของประชาชนไทยประจำปี 2559. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2560; 11(1): 70-79.
17. จักรพันธ์ เพียรพนัสสัก. ภูมิปัญญาชาวบ้านในพิธีกรรมของชุมชนกะเหรี่ยง. (วิทยานิพนธ์ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2543.
18. ศิวาพร มหาทำนุโชค. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงขาวที่มีความเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. พยาบาลสาร 2558; 42(ฉบับพิเศษ): 118-125.