สิ่งคุกคามสุขภาพในอาชีพพนักงานขับรถโดยสารประจำทางขนส่งมวลชนกรุงเทพ

Main Article Content

Sipira Chirdsanguan

บทคัดย่อ

อาชีพพนักงานขับรถโดยสารประจำทางเป็นอาชีพที่ต้องปฏิบัติงานอยู่บนท้องถนนเป็นเวลานาน ทำให้มีโอกาสสัมผัสกับสิ่งคุกคามสุขภาพหลายด้านอยู่เป็นประจำ และส่งผลเสียต่อสุขภาพต่างๆมากมาย แต่ถ้าหากพนักงานขับรถโดยสารประจำทางมีความตระหนักรวมถึงมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสิ่งคุกคามสุขภาพก็จะสามารถหลีกเลี่ยงและหาทางป้องกันสิ่งคุกคามสุขภาพเหล่านี้ได้ บทความนี้นำเสนอสิ่งคุกคามสุขภาพในอาชีพพนักงานขับรถโดยสารประจำทางขนส่งมวลชนกรุงเทพ ทั้งทางด้านกายภาพ ด้านเคมี ด้านชีวภาพ ด้านจิตสังคม และด้านการยศาสตร์

Article Details

บท
บทปฏิทัศน์หรือการทบทวนวรรณกรรม (Review Articles)

References

1. สุรเมศวร์ พิริยะวัฒน์. ระบบขนส่งสาธารณะ. ใน: วิศวกรรมขนส่ง. 2551. หน้า179–244.
2. สลิลาทิพย์ ทิพยไกรศร. ประเทศไทยเริ่มต้นพัฒนาระบบขนส่งมวลชนอย่างไร. วารสารนักบริหาร. 2554;31(4):55–8.
3. วิโรจน์ โอศิริพันธุ์. เอกสารรวมเส้นทางรถประจําทาง ชุดที่ 8 พ.ศ. 2549–2550 หมวด 1. 2549.
4. องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ. รายงานประจำปี พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ; 2558.
5. กนิษฐา บุญภา, ศรีรัตน์ ล้อมพงศ์, จิตรพรรณ ภูษาภักดีภพ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเมื่อยล้าในพนักงานขับรถโดยสารประจำทาง ขนส่งมวลชนกรุงเทพ เขตการเดินรถแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา. 2556;8(2):46–58.
6. Sluiter JK. Need for recovery from work related fatigue and its role in the development and prediction of subjective health complaints. Occup Environ Med. 2003;60(Suppl I):i62–i70.
7. Johansson G, Evans GW, Cederstrom C, Rydstedt LW, Fuller-Rowell T, Ong AD. The Effects of Urban Bus Driving on Blood Pressure and Musculoskeletal Problems: A Quasi-Experimental Study. Psychosom Med. 2012;74(1):89–92.
8. ศูนย์ภูมิอากาศ สำนักพัฒนากรมอุตุนิยมวิทยา. สถิติอุณหภูมิสูงที่สุดในช่วงฤดูร้อนของประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2494 - 2558 [Internet]. Available from: https://www.tmd.go.th/programs/uploads/tempstat/max_stat_latest.pdf [cited 2016 Nov 2].
9. Zhou L, Xin Z, Bai L, Wan F, Wang Y, Sang S, et al. Perceptions of heat risk to health:A qualitative study of professional bus drivers and their managers in Jinan, China. Int J Environ Res Public Health. 2014;11(2):1520–35.
10. โยธิน เบญจวัง, วิลาวัณย์ จึงประเสริฐ, บรรณาธิการ. โรคจากรังสีความร้อน. ใน: มาตรฐานการวินิจฉัยโรคจากการทํางาน ฉบับเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550. สำนักกองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน; 2550. หน้า194–6.
11. พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 115 ตอนที่ 8ก.
12. ธัญลักษณ์ จงมี. การนำเศษเส้นใยธรรมชาติกลับมาใช้เป็นฉนวนกันความร้อน [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี; 2553.
13. สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการประเมินความเสี่ยงจาการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล(ฉบับปรับปรุงแก้ไข พ.ศ. 2554). พิมพ์ครั้งที่3. นนทบุรี: โรงพิมพ์ชุมนุมการเกษตรและสหกรณ์แห่งประเทศไทย; 2554.
14. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่องกำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป พ.ศ. 2540. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 114 ตอนที่ 27ง.
15. ประวรดา โภชนจันทร์. มลพิษทางเสียงและสมรรถภาพการได้ยินของประชาชนและผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษทางเสียงบริเวณริมทางการจราจรในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยราชภัฎธนบุรี รับใช้สังคม. 2552;16(1):156–68.
16. พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช. ภาวะประสาทหูเสื่อมจากเสียง [Internet]. Available from: http://www.med.cmu.ac.th/dept/commed/2015/images/files/pdf/322315/sound.pdf [cited 2016 Nov 2].
17. Alizadeh A, Etemadinezhad S, Charati JY, Mohamadiyan M. Noise-induced hearing loss in bus and truck drivers in Mazandaran province, 2011. Int J Occup Saf Ergon. 2016;22(2):193–8.
18. Rezaei L, Alipour V. Prevalence of noise induced hearing loss among vehicle drivers at Bandar Abbas freight terminal , south of Iran. Environ Heal Eng Manag J. 2015;2(3):135–9.
19. โยธิน เบญจวัง, วิลาวัณย์ จึงประเสริฐ, บรรณาธิการ. โรคจากความสั่นสะเทือน. ใน: มาตรฐานการวินิจฉัยโรคจากการทํางาน ฉบับเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550. สำนักกองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน; 2550. หน้า170–8.
20. Bovenzi M, Rui F, Negro C, D’Agostin F, Angotzi G, Bianchi S, et al. An epidemiological study of low back pain in professional drivers. J Sound Vib. 2006;298(3):514–39.
21. Thamsuwan O, Blood RP, Ching RP, Boyle L, Johnson PW. Whole body vibration exposures in bus drivers: A comparison between a high-floor coach and a low-floor city bus. Int J Ind Ergon. 2013;43(1):9–17.
22. Blood RP, Yost MG, Camp JE, Ching RP. Whole-body Vibration Exposure Intervention among Professional Bus and Truck Drivers: A Laboratory Evaluation of Seat-suspension Designs. J Occup Environ Hyg. 2015;12(6):351–62.
23. ปริยาภรณ์ โทนหงส์สา, ไอลดา ตรีรัตน์ตระกูล, เลิศชัย ระตะนะอาพร. การประเมินการสั่นสะเทือนทั้งร่างกายของพนักงานขับรถยกในบริเวณคลังสินค้า. วิศวกรรมสาร มก. 2559;29(95):63–70.
24. พรชัย สิทธิศรัณย์กุล. โรคจากความสั่นสะเทือน. ใน: อดุลย์ บัณฑุกุล, บรรณาธิการ. ตำราอาชีวเวชศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2554. หน้า562–86.
25. อรัญ ขวัญปาน. การส่งเสริมการท่องเที่ยวกับการฟุ้งกระจายของสภาวะฝุ่นละอองในเส้นทางสู่แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม.สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา; 2553.
26. สุดจิต ครุจิต. ระบบเฝ้าระวังฝุ่นละอองและคุณภาพอากาศแบบบูรณาการระยะที่ 2. สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สำนักวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2556.
27. Davis ME, Smith TJ, Laden F, Hart JE, Blicharz AP, Reaser P, et al. Driver exposure to combustion particles in the U.S. Trucking industry. J Occup Environ Hyg. 2007;4(11):848–54.
28. OSHA (Occupational Safety and Health Administration). Occupational Safety and Health Standard [Internet]. Available from: https://www.osha.gov [cited 2016 Nov 2].
29. Kongtip P, Anthayanon T, Yoosook W, Onchoi C. Exposure to particulate matter, CO2, CO, VOCs among bus drivers in Bangkok. J Med Assoc Thail. 2012;95(SUPPL 6):169–78.
30. ACGIH (American Conference of Governmental Industrial Hygienists). Threshold limit values for the chemical substances and physical agents and biological exposure indices. Ohio, USA; 2009.
31. ศรีรัตน์ ล้อมพงศ์. การประเมินการรับสัมผัสสารเบนซีนและรูปแบบการใช้ชีวิตของพนักงานขับรถโดยสารธรรมดาในเขตกรุงเทพมหานคร. ธรรมศาสตร์เวชสาร. 2556;13(1):52–8.
32. โยธิน เบญจวัง, วิลาวัณย์ จึงประเสริฐ, บรรณาธิการ. โรคจากเบนซีนหรือสารอนุพันธ์ของเบนซีน. ใน: มาตรฐานการวินิจฉัยโรคจากการทํางาน ฉบับเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550. สำนักกองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน; 2550. หน้า 60–3.
33. โยธิน เบญจวัง, วิลาวัณย์ จึงประเสริฐ, บรรณาธิการ. โรคจากคาร์บอนมอนนอกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ หรือ สารประกอบของไฮโดรเจนไซยาไนด์ และไฮโดรเจนซัลไฟด์. ใน: มาตรฐานการวินิจฉัยโรคจากการทํางาน ฉบับเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550. สำนักกองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน; 2550. หน้า80–6.
34. ฉัตรชัย เอกปัญญาสกุล. ผลกระทบต่อสุขภาพจากคุณภาพสิ่งแวดล้อมในอาคาร. ใน: อดุลย์ บัณฑุกุล, บรรณาธิการ. ตำราอาชีวเวชศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2554. หน้า178–206.
35. ภารดี ช่วยบำรุง, ชัญฐิศา ประพันธ์พจน์. ความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภายในระบบขนส่งมวลชนทางบกในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2558;23(6):898–913.
36. NIOSH (National Institute for Occupational Safety and Health). Registry of Toxic Effects of Chemical Substances [Internet]. 2013. Available from: http://www.cdc.gov/niosh-rtecs/FF61A800.html [cited 2016 Nov 2].
37. วิวัฒน์ เอกบูรณะวัฒน์. Carbon dioxide [Internet]. มูลนิธิสัมมาอาชีวะ. 2555. Available from: http://www.summacheeva.org/index_thaitox_carbon_dioxide.htm [cited 2017 Jul 1]
38. Luksamijarulkul P, Sundhiyodhin V, Luksamijarulkul S, Kaewboonchoo O. Microbial air quality in mass transport buses and work-related illness among bus drivers of Bangkok Mass Transit Authority. J Med Assoc Thail. 2004;87(6):697–703.
39. Prakash NKU, Bhuvaneswari S, Kumar MR, Lankesh S, Rupesh K. A Study on the Prevalence of Indoor Mycoflora in Air Conditioned Buses. Br Microbiol Res J. 2014;4(3):282–92.
40. วชร โอนพรัตน์วิบูล, สรันยา เฮงพระพรหม, พรชัย สิทธิศรัณย์กุล, อริยา จินดามพร. ความชุกของเยื่อจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ในบุคลากรและเชื้อราในอากาศในอาคารที่มีระบบจัดการอากาศ [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2551.
41. Anund A, Ihlström J, Fors C, Kecklund G, Filtness A. Factors associated with self-reported driver sleepiness and incidents in city bus drivers. Ind Health. 2016;337–46.
42. Santos JA, Lu JL. Occupational safety conditions of bus drivers in Metro Manila, the Philippines. Int J Occup Saf Ergon. 2016;22(4):508–13.
43. นารา กุลวรรณวิจิตร, สุนทร ศุภพงษ์, สสิธร เทพตระการพร. อัตราความชุกของการเกิดความอ่อนล้าขณะขับรถ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในพนักงานขับรถโดยสารประจำในเส้นทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือในสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2549.
44. รัชตมน ทองอร่าม, อรวรรณ แก้วบุญชู, สุรินธร กลัมพากร, สสิธร เทพตระการพร. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการปวดหลังส่วนล่างในพนักงานขับรถโดยสารประจำทาง องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหิดล; 2544.
45. วรศักดิ์ ยิ้มศิริวัฒนะ, สุนทร ศุภพงษ์, สสิธร เทพตระการพร. อัตราความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดหลังส่วนล่างของพนักงานขับรถโดยสารประจำทางระหว่างจังหวัดในสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2548..
46. Alperovitch-Najenson D, Santo Y, Masharawi Y, Katz-Leurer M, Ushvaev D, Kalichman L. Low back pain among professional bus drivers: ergonomic and occupational-psychosocial risk factors. Isr Med Assoc J. 2010;12(1):26–31.
47. Szeto GPY, Lam P. Work-related musculoskeletal disorders in urban bus drivers of Hong Kong. J Occup Rehabil. 2007;17(2):181–98.
48. Karali S, Gyi DE, Mansfield NJ. Driving a better driving experience: a questionnaire survey of older compared with younger drivers. Ergonomics . 2016;139:1–8.