การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันธ์ในองค์กรกับสมรรถนะหลักของเจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์

Main Article Content

วิศิษฐ์ ฤทธิบุญไชย

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันในองค์การ กับ สมรรถนะหลักของเจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์ ประชากรของกรมราชทัณฑ์ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่และผู้บริหารกรมราชทัณฑ์จำนวน 11,437 คน ใช้สูตรคำนวณหาขนาดของกลุ่ม ตัวอย่างแบบประมาณสัดส่วน ตามสูตรของทอมสัน ที่ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้ขนาดกลุ่ม ตัวอย่างเท่ากับ 372 ตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นสามารถเก็บข้อมูลได้ 410 ชุด แบ่งเป็นเจ้าหน้าที่ส่วนกลาง จำนวน 269 ตัวอย่าง และส่วนภูมิภาค (เรือนจำจังหวัด และ เรือนจำอำเภอ) จำนวน 141 ตัวอย่าง ตามเป้าหมายการวิเคราะห์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิง ปริมาณ โดยอาศัยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง (The Second Orders Confirmatory Factor Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันในองค์การ กับสมรรถนะหลักของเจ้า หน้าที่กรมราชทัณฑ์มีความสัมพันธ์กัน สูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (\inline \small \phi=0.65) โดยที่องค์ ประกอบตัวบ่งชี้ด้านความผูกพันของเจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์ เกิดจากความผูกพันด้านจิตใจ มากที่สุด ส่วนองค์ประกอบตัวบ่งชี้สมรรถนะหลักของเจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์ เกิดจาก สมรรถนะในสมรรถนะดา้ นการใฝสั่มฤทธ์ิในหนา้ ที่งานมากที่สุด นอกจากนี้ยังพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระหว่างเจ้าหน้าที่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ด้านความผูกพัน ต่อองค์การด้านจิตใจ ความผูกพันต่อองค์การด้านบรรทัดฐาน และสมรรถนะด้านความเป็นผู้นำ

คำสำคัญ : ความผูกพันในองค์การ, สมรรถนะหลัก, เจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์

 

Abstract

This research has the objective to study relationship between organizational commitments and core competencies of the Department of Corrections. Population of the Department of Corrections composes of 11,437 employee and executives. Estimating a Proportion Sampling according to the method of Thompson is used to define sample size. At 95% level of confidence, the sample size is equal to 372 samples. Probability sampling is used through the technique of stratified random sampling. Finally, 410 samples are collected according to target; dividing into 269 samples from central administration employee and 141 samples from provincial administration employee. Quantitative analysis is used, through The Second Orders Confirmatory Factor Analysis. The research shows that there exists a relationship between organizational commitments and core competencies of the Department of Corrections Employee at 0.65 level of statistic significance. The indicator element of Organizational Commitments of the Department of Corrections Employee mainly comes from individual Affective Commitment. But the indicator element of Core Competencies of the Department of Corrections Employee mostly derives from Task Achievement Competencies. Moreover the result of research found a significant difference between central and provincial administration employee in view of affective commitment, normative commitment, leadership competencies.

Keywords : Organizational Commitments, Competencies, The Department of Corrections Employee

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมราชทัณฑ์. (2552). จํานวนเจ้าหน้าที่ในกรมราชทัณฑ์. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2552, เว็บไซต์: http://www.correct.go.th/demo/www/aboutus/about2.html

เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภช. (2546). การพัฒนาความสามารถเชิงสมรรถนะ. กรุงเทพฯ: โกลบัลคอนเซิร์น.

ชวนา อังคนุรักษ์พันธ์. (2546). การรับรู้วัฒนธรรมองค์การและความผูกพันต่อองค์การของเจ้าหน้าที่ในธุรกิจโรงแรม. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทรัพยากรมนุษย์บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ณรงค์ วิทย์แสนทอง. (2547). มารู้จัก Competency กันเถอะ. กรุงเทพฯ: เอชอาร์เซ็นเตอร์.

ณัฏฐิกา เจยาคม. (2551). พฤติกรรมการทํางานของเจ้าหน้าที่ดีเด่นในโรงงานอุตสาหกรรม: กรณีศึกษา. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาการแนะแนวมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ดนัย เทียนพุฒ. (2543). การจัดการเรื่องความสามารถ: หัวใจสําคัญของความสําเร็จ. วารสารบริหารคน, 18(2), 11-18.

เดชา เดชะวัฒนไพศาล. (2543). Competency-Based Human Resource: Management. วารสารบริหารคน, 21(5), 26-41.

ธานินทร์ อุดม. (2540). Competency-Based Train-ing. จุลสารพัฒนาข้าราชการ, 1, 17-19.

ธํารงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์. (2548). เริ่มต้นอย่างไรเมื่อจะนํา Competency มาใช้ในองค์การ. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

นันทพร ศุภะพันธุ์. (2551). การศึกษาสมรรถนะการบริหารด้านวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษา สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บุษยมาส มารยาตร์. (2542). การประเมินขีดความสามารถในการปฏิบัติงานของนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กรณีศึกษาการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย. ภาคนิพนธ์, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ปัทมา เพชรไพริทร์. (2547). สมรรถนะพยาบาลประจําการโรงพยาบาลขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พิมพกานต์ ไชยสังข์. (2546). สมรรถนะของเจ้าหน้าที่ในบริษัทที่ปรึกษาด้านบัญชีและการเงินแห่งหนึ่ง. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ภรณี กีร์บุตร. (2529). การประเมินประสิทธิผลขององค์การ. กรุงเทพมหานคร: โอเอสพริ้นติ้งเฮาส์.

มลฤดี ตันสุขานันท์. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์การกับความผูกพันของเจ้าหน้าที่: กรณีศึกษาบริษัทสื่อสารโทรคมนาคมแห่งหนึ่ง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การสถาบันพัฒนบริหารศาสตร์.

วันทนา กอวัฒนาสกุล. (2543). ทักษะความรู้ความสามารถ (Competency). วารสารเพิ่มผลผลิต, 39(4), 19-24.

วิฑูรย์ สิมะโชคดี. (2541). ยอดหัวหน้างาน Excel-lent Supervisor. กรุงเทพฯ: TPA Publishing.

ศศิวิมลทองพั้ว. (2548). ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของเภสัชกรในโรงพยาบาลชุมชนเขตการสาธารณสุข 6. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548). คู่มือสมรรถนะราชการพลเรือนไทย. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง.

สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2548). แนวทางการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ด้วย Competency Based Learning. กรุงเทพฯ: ฝ่ายวิจัยและระบบสารสนเทศสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.

สุดารัตน์ ลิมปะพันธ์และคณะ. (2549). การประเมินความสามารถเชิงสมรรถนะหลักบุคลากรสํานักพัฒนาบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. กรุงเทพฯ: ชงเธียรมาร์เก็ตติ้ง.

สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณาและรัชนี กูลภิญโญภานุวัฒน์. (2552). สถิติวิเคราะห์สําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่งคงการพิมพ์.

โสภณวิชญ์ บัวบานพร้อม. (2551). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันของเจ้าหน้าที่บริการลูกค้าทางโทรศัพท์บริษัททรูคอร์ปอเรชั่นจํากัด(มหาชน). ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาการแนะแนวมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อานนท์ ศักดิ์วรวิชย์. (2547). แนวคิดเรื่องสมรรถนะCompetency: เรื่องเก่าที่เรายังหลงทาง. จุฬาลงกรณ์รีวิว, 4(9), 28-31.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธ์. (2548). Competency Dictionary. กรุงเทพฯ: เอชอาร์เซ็นเตอร์.

อิสระ บุญญะฤทธิ์. (2545). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําสมรรถนะบรรยากาศองค์การและประสิทธิผลของหัวหน้างานระดับต้น. วิทยา-นิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Allen, N.J and Meyer, J.P. (1990). The measure-ment and antecedents of affective, continuance, and normative commitment to the organiza-tion. The Journal of Occupational Psychology, 63, 1-18.

Baron, R.A. (1986). Behavior in organization: Understanding and managing the human side of work. 2nd ed. Boston: Allyn and Bacon.

Belsley, D. (1991). Conditional diagnostics: Collinearity and weak data in regression. New York: John Wiley.

Bowden, J. & Masters, G. (1993). Implications for Higher Education of a Competency-Based Approach to Education and Training. Canberra: AGPS.

Boyatzis, R. E. (1996). The competent manager: A theory of effective performance. New York: John Wiley.

Burgoyne, J. (1993). The competence movement: Issues, Stakeholders and Prospects. Personnel Review, 22, 6-13.

Carrell, M.J. & Heavirin, C. (1997). Fundamental of organizational behavior. New Jersey: Prentice-Hall.

Dales, M. & Hes, K. (1995). Creating Training Miracles. Sydney: Prentice-Hall.

Diamantopoulos, A. and Siguaw, A.D. (2000). Introducing LISREL: A guide for the uninitiated. London: Sage Publications.

Eisenberger, R. et al. (1990). Perceived organi-zational support and employee diligence, commitment, and innovation. Journal of Applied Psychology, 75, 193-208.

Fazzi, R. A. (1994). Management plus: Maximizing productivity through motivations, performance, and commitment. New York: Macmillan.

Gibson, J.L. et al. (2000). Organization: Structure, process, behavior. 10th ed. New York: McGraw-Hill.

Hair, J.L., Anderson, R.E, Tatham, R.L., Black, W.C. (1998). Multivariate data analysis with Readings. 5th ed. London: Prentice Hall.

Luthanas, F. (2002). Organiztioanl behavior. 9th ed. New Jersey: McGraw-Hill.

Mathis, R.L. & Jackson, J.H. (1997). Human resources management. 8th ed. New York: West Publishing.

Northcraft, G.B & Neale, M.A. (2003). Organization behavior: A management Challenge. 2nd ed. New York: Dryder Press.

Robbins, S.P. (2003). Organiational behavior. New Jersey: Pearson Education.

Shermon, D. (2004). Competency based HRM: A strategies resource for Competency Mapping Assessment and Development Centres. New Delhi: Tata McGraw-Hill.

Steers, R.M. (1991). Introduction to organiza-tional behavior. 5nd ed. Illinois: Foresman.

Sternberg, R. & Kolligian J. (1990). Competence Considered. New Haven: Yale University Press.

Thompson, S. K. (1992). Sampling. New York: John Willey.