Is an Organization as Decision-making Process Still Worthwhile?

Main Article Content

Winaicharn Sapparojpattana

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

บทความนี้ย่อใจความสำคัญในเชิงทฤษฎีและเสนอคุณค่าในเชิงปฏิบัติที่ผู้อ่านที่สนใจจะเรียนรู้จากหนังสือ Administrative Behavior ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 4 บทเรียนหลักก็คือ ผู้บริหารและบุคลากรในองค์การขนาดใหญ่ทั้งในภาครัฐและในภาคเอกชนตัดสินใจที่จะกระทำงานอย่างหนึ่งกันอย่างไร เพื่อให้เกิดการประสานงานที่เหมาะสม การตัดสินใจดังกล่าวนั้นได้สร้างขอบเขตให้กับพฤติกรรมที่พยายามที่จะตั้งอยู่บนพื้นฐานของเหตุผล ถึงแม้ว่ากระบวนการได้มาซึ่งความรู้ใหม่ ที่เรียกว่าปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ ของผู้แต่งมักได้รับการโต้แย้งตลอดระยะเวลากว่า 60 ปีที่ผ่านไป แต่หลังจากศึกษาหนังสือเล่มนี้โดยตลอด เราจะเข้าได้ว่า ทำไมความคิดที่ลึกซึ้งที่ผู้แต่งพรรณนาไว้ในหนังสือเล่มนี้จึงได้รับการยกย่องสนับสนุนและมีการประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางอยู่ถึงในปัจจุบัน โดยเราอาจจะไม่พบทฤษฎีในเรื่องเดียวกันที่จะได้รับการยอมรับเพียงนี้อีกจวบจนสิ้นศตวรรษ

คำสำคัญ : การใช้เหตุผลที่ถูกจำกัด, การเลือกตัดสินใจโดยไม่สามารถใช้เหตุผลเต็มที่ , ปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ, กระบวนการตัดสินใจ, พฤติกรรมองค์การ

 

Abstract

This article not only summarizes theoretical concepts but also pinpoints some valuable practices one may learn from the book, Administrative Behavior, 4th Edition. The main lesson drawn from the book is how people in a large organization decide to take actions and to co-operate. Their decisions actually limit rational behavior. Although the author’s logical positivism, a methodology for creating a new body of knowledge, has been attacked over the past 60 years since the first edition was published,. Still a number of scholars and practitioner communities worldwide has advocated its principles and remained still accept his far-reaching ideas of the century.

Keywords : bounded rationality, satificing, logical positivism, decision-making process, organizational behavior

Article Details

บท
บทวิจารณ์หนังสือ

References

i Carlson, Sune. Presentation Speech of the Royal Academy of Sciences for Prize in Economic Sciences in Memory of Alfred Nobel 1978. Website: http://nobelprize.org/nobel_prizes/economics/laureates/1978/presentation-speech.html

ii Mingus, Matthew S. Bounded Rationality and Organizational Infl uence: Herbert Simon and the Behavioral Revolutin in Moçöl, Göktug, editor (2007). Handbook of Deci-sion Making. Florida, USA: CRC Press, pages 73-75.

iii Ibid., Carlson, Sune.

iv Ibid., Carlson, Sune.