การโค้งนัยสำคัญทางวัฒนธรรมญี่ปุ่น

Main Article Content

ทิพวรรณ อภิวันท์วรรัตน์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การโค้งเป็นวิธีการทักทายในวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่มิได้มีความหมายเพียงแค่การทักทายธรรมดาเท่านั้น  แต่ยังบ่งบอกว่าคนญี่ปุ่นวางสถานะของตนกับคู่สนทนาอย่างไร ดังนั้นการเข้าใจวิธีการทักทายในวัฒนธรรมญี่ปุ่นจะช่วยให้เกิดความมั่นใจเมื่อต้องติดต่อประสานงานหรือทำงานกับคนญี่ปุ่น ซึ่งญี่ปุ่นนับวันจะเข้ามาวางรากฐานด้านอุตสาหกรรมในประเทศไทยมากกว่าประเทศใดๆ ในภูมิภาคอาเซียน การทักทายที่เหมาะสมกับทุกสถานการณ์นี้มีความสำคัญที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจที่ดีต่อกัน ช่วยให้การทำงานร่วมกันเกิดได้อย่างราบรื่น เนื้อหาของบทความนี้ได้เปรียบเทียบการทักทายในวัฒนธรรมของชาติอื่นๆ ด้วยเพื่อช่วยให้เกิดความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรมได้ดีขึ้น และเพื่อช่วยให้คนไทยที่ต้องทำงานกับคนต่างชาติสามารถปรับตัวในการทำงานร่วมกับกลุ่มคนต่างวัฒนธรรมได้อย่างราบรื่น และเป็นการเชื่อมความเข้าใจที่ดีระหว่างไทยและนานาชาติได้ด้วย

คำสำคัญ : การโค้ง วัฒนธรรมญี่ปุ่น การทักทาย

 

Abstract

Bowing is not only the way of greeting in Japanese culture but it also shows the way Japanese express their respect to their partners in various situations. This article deals with the importance of greeting in Japanese culture in communicating with people. As Japanese companies have immigrated into Thailand more than other countries in the ASEAN region, the understanding in Japanese culture, especially greeting with good manner and properly, is very important to build a better understanding between Thai and Japanese people in companies. Mutual understanding is the key for people in both societies to work in harmony. The article will also discuss the proper greetings in other cultures for a better understanding for Thai people working in multinational companies in Thailand.

Keywords : Bowing, Japanese culture, greeting

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ทัศนีย์ เมธาพิสิฐ. (2553). รู้ไว้ก่อนใช้ชีวิตที่ญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ภาษาวัฒนธรรม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี

(ไทย-ญี่ปุ่น).

ทิพวรรณ อภิวันท์วรรัตน์. (2545). เรียนภาษาญี่ปุ่นไม่วุ่นอย่างที่คิด. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน).

บัณฑิต โรจน์อารยานนท์ และคณะ (2547). รู้จักไทยเข้าใจญี่ปุ่น, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

รื่นฤทัย สัจจพันธ์. (2553). คําทักทาย. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2555, จาก สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม เว็บไซต์ : http://www.m-culture.go.th

ฮิโรโกะ นิชิเดะ, มิกิ อิโต. (2551). เคล็ดลับและมารยาทในการทำงาน. แปลโดย กิ่งดาว ไตรยสุนันท์ กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ภาษาวัฒนธรรม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

Aikawa Tsugumoto. (1997). Nihontateyoko. Tokyo : Gakken.

JCC Economic Survey Team. (2012). Survey of Business Sentiment on Japanese Corporations in Thailand for the 1st half of 2012. Retrieved September 20, 2012, from http://www.jetro.go.jp/thailand/

Kamabu Chuuko. (2011). Shigoto no Nihongo: Japanese for business. 310 ed. Tokyo : Aruku.

Kato Hiroshi. (2010). Dakara nihon wa yoku naranai. Tokyo : Kindai E&S Book.

Yoneda Ryusuke, Fujii Kazuko, Shigeno Mie, Ikeda Hiroko. (1996). We Mean Business : Japanese for Business People. Tokyo : 3A Corporation.