การเรียนการสอนแบบเชิงลึก: กรณีตัวอย่างของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

Main Article Content

นิธิ ไพศาลวรจิต

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการฉบับนี้อธิบายความสำคัญของการเรียนการสอนแบบเชิงลึกสำหรับระบบการศึกษาในประเทศไทย เนื่องมาจากข้อเท็จจริงที่ว่า วิธีการจัดการเรียนการสอนในประเทศไทยค่อนไปทางเป็นแบบผิวเผิน ซึ่งไม่นำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากวิธีการเรียนการสอนแบบผิวเผินถูกใช้อย่างแพร่หลายมากกว่า ซึ่งนำไปสู่ปัญหาหลายอย่าง เช่น ไม่สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และล้มเหลวในการเป็นผู้เรียนที่ดี ส่งผลให้ทั้งผู้เรียนและผู้สอนไม่มีความกระตือรือล้นในการพัฒนาทางด้านวิชาการและการพัฒนาตนเองในวิชาชีพ บทความวิชาการฉบับนี้จะอธิบายว่าอะไรคือการเรียนแบบเชิงลึกและอะไรคือการเรียนแบบผิวเผินรวมถึงความจำเป็นต้องเปลี่ยนสภาพการเรียนการสอนในปัจจุบันให้เป็นแบบเชิงลึกให้หมด การเรียนการสอนแบบ Work based learning เป็นปรัชญาที่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ใช้เป็นหลักในการจัดการเรียนการสอน นักศึกษาต้องเรียนในห้องเรียนควบคู่ไปกับการฝึกปฏิบัติงานจริง ซึ่งตรงกับวิชาเอกที่นักศึกษาแต่ละคนศึกษาอยู่ นักศึกษาจะได้ลองผิดลองถูกจากการเรียนและการทำงานในสถานที่จริง บทความวิชาการฉบับนี้จะใช้รูปแบบการเรียนการสอนของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์เป็นตัวอย่างในการอธิบายถึงวิธีการที่ทั้งผู้เรียนและผู้สอนเตรียมการเรียนการสอนอย่างไร ณ ปัจจุบัน ผลกระทบบางอย่างจากการเรียนการสอนแบบ Work based learning จะได้รับการอธิบาย รวมถึงเสนอทางแก้ปัญหาสำหรับฝั่งของผู้สอนซึ่งสามารถดำเนินการได้ทันทีอีกด้วย


Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

A Brief History of Chulalongkorn University. (1994). Retrieved January 07, 2014, from http://www.chula.ac.th/cuen/about/history/

Ahmad, N. N., & Sulaiman, M. (2013). Case studies in a passive learning environment: some Malaysian evidence. Accounting Research Journal, 173-196.

Barnes, R. (1995). Successful Study for Degrees. London: Routledge.

Biggs, J. (1999). Teaching for Quality Learning at University: What the student does. Buckingham:Open University Press.

Black, S. (2005). Teaching Students to Think Critically. [Electronic version). The Education Digest,70(6), 42-47.

Cebrian, G., Marcus, M., & Humphris, D. (2013). Organisational learning towards sustainability in

higher education. Sustainability Accounting, Management and Policy Journal, 285-306.

Diseth, A., Hovland, A., Larsen, S., Pallesen, S. (2006). Course experience, approach to learning and

academic achievement. Education + Training, 156-169.

Dominowski, R. L. (2002). Teaching Undergraduates. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates, Inc.

Dominowski, R. L. (2002). Teaching Undergraduates. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates, Inc.

Laurillard, D. (1993). Rethinking University Teaching: A framework for the effective use of educational technology. New York: Routledge.

Marton, F., Dall'Alba, G., & Beaty, E. (1993). Conceptions of learning. International Journal of Educational Research, 19(3), 277-300.

Ramsden, P. (1992). Learning to Teach in Higher Education. London: Routledge.

Thamraksa, C. (2011). Student-Centered Learning: Demystifying the Myth. A Center for Education Reform in Thailand Website. Retrieved January 18, 2014, from http://sclthailand.org/2011/08/student-centered-learning-demystifying-the-myth/

Walker, M. (2001). Reconstructing Professionalism in University Teaching: Teachers and learners in action. Buckingham: Open University Press.

Warburton, K. (2003). Deep learning and education for sustainability. International Journal of Sustainability in Higher Education , 44-56.