การใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพของบัณฑิตไทยในเขตกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

เยาวลักษณ์ ยิ้มอ่อน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการใช้ภาษาอังกฤษ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ภาษาอังกฤษ และแนวโน้มการใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพของบัณฑิตไทย โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นบัณฑิตไทยในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 450 คน โดยใช้วิธีการเลือกสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (multi-stage random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .80  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ จำนวน ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติไค-สแควร์ ผลการวิจัยพบว่า บัณฑิตไทยมีระดับการใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.81 (มาตราส่วนประมาณค่าของลิเคิร์ท) เมื่อเปรียบเทียบปัจจัยทางสังคม พบว่า ประเภทบริษัท หน้าที่ความรับผิดชอบ และสถานที่ทำงานของบัณฑิตไทย มีความสัมพันธ์กับการใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพ โดยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และมีแนวโน้มการใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพของบัณฑิตไทยอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.65 (มาตราส่วนประมาณค่าของลิเคิร์ท)

 

Abstract

The purposes of this study were to investigate the degree of English used in the careers of Thai graduates, factors related to the use of English and tendency in the use of English by Thai graduates. The samples were 450 graduates in Bangkok.  The instrument used was a questionnaire developed by the researcher which has a reliability of .80. A multi-stage random sampling method was used.  Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, and a Chi-Square test.  The results of this study indicated that the Thai graduates used English in their careers at a moderately high level with a mean of 2.81 (Likert rating scales). When taking social factors into consideration, it was found that Thai graduates working in different types of business and having different job responsibilities as well as locations indicated a different mean in the use of English at the .05 level of statistical significance. The tendency of the use of English in the careers of the graduates was at a high level with a mean of 2.65 (Likert rating scale).

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2555), ความเป็นมาของอาเซียน. สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2555, จาก http://www.thailandaec.com

กระทรวงการต่างประเทศ. (2555). กฏบัตรสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2555, ana http://aseansummit.mfa.go.th/15/thai/PDF/ASEAN_Charter_TH+EN.pdf.

กระทรวงพาณิชย์, กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2552), ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. นนทบุรี: กระทรวงพาณิชย์.

กระทรวงแรงงาน. (2555). แผนพัฒนากําลังคนในระดับประเทศ พ.ศ. 2555-2559. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2555 จาก http://www.siamintelligence.com/human-resource-development-plan-for-aseancommunity-2015

กลุ่มสถิติและวิเคราะห์สภาวะการศึกษาไทย สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). จํานวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาปี 2553. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2555, จาก http://witayakornclub.wordpress.com

กาญจนา ปราบพาล และประกายแก้ว โอภานนท์อมตะ. (2545), การสํารวจความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษของบัณฑิตไทย. สืบค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2555, จาก http://pioneer.chula.ac.th/-pkanchan/doc/CUTEP2002.DOC

กิ่งแก้ว ทรัพย์พระวงศ์. (2553). จิตวิทยาทั่วไป, กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

คณะกรรมการวิชาชีพบัญชีด้านบัญชีบริหาร. (2556). AEC กับ นักบัญชี: พม่าโอกาสทองในการทํางาน. สืบค้นเมื่อ16 กันยายน 2556, จาก http://www.fap.or.th/images/intro page 1362125498/FAP%20News%20No_4.pdf

ดารณี ตันติวงศ์ไชยชาญ. (2537), การนําเสนอโครงการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพสําหรับครูภาษาอังกฤษในวิทยาลัยนาฏศิลป์ สังกัดกองศิลปศึกษา กรมศิลปากร. สืบค้นเมื่อ 6 กันยายน 2555, จาก http://www.thaiedresearch.org/thaied

ธิดารัตน์ โชคสุชาติ. (2555), ศักยภาพของประเทศสมาชิกอาเซียนกับการปรับตัวของผู้ประกอบการไทย. วารสารนักบริหาร, 32(3), 26.

นงสมร พงษ์พานิช. (2554). การศึกษาปัญหาของการพูดภาษาอังกฤษในการสื่อสารด้วยวาจาของนิสิตคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตุลาคม 2550 ถึง กันยายน 2551. วารสารมนุษยศาสตร์,18(1), 88.

นภาเพ็ญ สุดใจ. (2536), การศึกษาความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษของสถานประกอบธุรกิจการท่องเที่ยวและของนักเรียนชั้นปีที่ 3 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาพาณิชยการ สังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ เขตการศึกษา 7. สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2555, จาก http://www.thaiedresearch.org/thaied

ผะอบ พวงน้อย, บุปผา เสโตบล, นาตยา แก้วใส และวรรณี ศรีเพ็ญ. (2546). ยุทธวิธีการเรียนการสอน: การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเทคนิคเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ: การประยุกต์ทฤษฎีที่ลงตัว. วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา, 15(45), 44-57.

พสุ เดชะรินทร์. (2547). บัณฑิตไทยที่พึงประสงค์, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2556, จาก http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2004q2/article2004june01p3.htm

เพ็ญประภา เจริญสุข และอนุวัต เจริญสุข. (2553). ภาษาอังกฤษกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่ความเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015. สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน 2556, จาก http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive journal/oct_dec_11/pdf/awo7.pdf

มาลินี จันทวิมล, อ้อยทิพย์ กรมกูล และกิ่งกมน ทวิชชาติวิทยากุล. (2549). การสํารวจความต้องการและเจตคติของบุคคลในสาขาอาชีพต่างๆ เกี่ยวกับความสําคัญของภาษาอังกฤษในงานอาชีพและชีวิตประจําวัน. สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2555, จาก http://en.scientificcommons.org/48543031

โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่. (2553). รายงานการวิจัยความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนภาษา

อังกฤษ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ปีการศึกษา 2552. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2555 910 http://eng.lannapoly.ac.th/?name=knowledge&file=readknowledge&id=8

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (2555). ASEAN Insight: ทักษะภาษาอังกฤษกับอาเซียน. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2555, จาก http://prp.trf.or.th สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2555). ASEAN. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2555, จาก http://www.nfe.go.th

Bawa, M.A. & Jantan, M. (2005). Human resource practices as determinants of employee turnover: An empirical investigation. Asian Academy of Management Journal, 10(2), 69-80.

Careers and Employability Service, University of Kent. (2012). What can I do with a degree in English?. Retrieved June 6, 2012, from http://www.kent.ac.uk/careers/english.htm

Hiu-Uen, Chia, Ruth, Johnson, Hui-Lung, Chia & Floyd, Olive. (1999). English for College Students in Taiwan: a Study of Perceptions of English Needs in a Medical Context. Retrieved September 17, 2013, from http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0889490697000525

Crystal, D. (2003). English as a global language (2nd ed.). Cambridge: Cambridge University Press.

Kolodny, Annette. (1999). The Employment of English: Theory, jobs, and the future of literary studies. American Literature, 71(3), 606-607.

Kongkerd, Wilaiporn. (2012). An investigation of Thai people's attitudes towards the use of English for intercultural communication in the workplace in Thailand. Doctoral Dissertation.University of Southampton, U.K.

McManus, Walter, Gould, William, & Welch, Finis. (1983). Earnings of Hispanic men: The Role of English Language Proficiency. Retrieved September 15, 2013, from http://www.jstor.org/ discover/10.2307/2534901uid=2&uid=4&sid=21102652421287

Pausell, P.R. (1983). The importance and implement of a business foreign language oversea internship program. Foreign Language Annals, 16, 277-286.

Singer, N.R. (1975). Learning and human performance. NY: Macmillan.

Stockwell, P. (2002). Sociolinguistics: A resource book for students. London: Routledge.

Will, Baker. (May 2012). English as a Lingua Franca in Thailand: Characteristics and Implications. Englsih in Practice, 1.