การจัดระเบียบสังคมแบบภาครัฐร่วมเอกชนสำหรับธุรกิจค้าขยะรีไซเคิล ในมิติด้านกฎหมายและการจัดการ

Main Article Content

ญาณัญฎาา ศิรภัทร์ธาดา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสำรวจความคิดเห็นของผู้ประกอบการธุรกิจรีไซเคิลที่มีต่อแนวทางการจัดระเบียบสังคม 2) สร้างรูปแบบและ 3) ประเมินผลรูปแบบการจัดระเบียบสังคม สำหรับธุรกิจรีไซเคิลแบบภาครัฐร่วมเอกชนในมิติด้านกฎหมายและมิติด้านการจัดการ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรในการศึกษาคือ หน่วยงานภาครัฐผู้ประกอบการธุรกิจรีไซเคิลการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการแบบหลายขั้นตอน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (Focus group) โดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา          ผลการวิจัยพบว่าด้านความคิดเห็นควรจัดตั้งเป็นองค์กรอิสระที่มีโครงสร้างอย่างชัดเจนด้านรูปแบบในมิติของการจัดการคือการให้ความรู้เรื่องสุขภาพอนามัย ในมิติของกฎหมายคือมีกฎหมายเพื่อควบคุมและคุ้มครองที่ยืดหยุ่นต่อบริบทความพร้อมและด้านการประเมินผลพบว่ารูปแบบมีความเหมาะสม ในด้านโครงสร้างองค์ประกอบกระบวนการพัฒนาและความเป็นไปได้ในการนำไปใช้  

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงพาณิชย์. (2552). คู่มือธุรกิจบริการคัดแยกขยะเพื่อรีไซเคิล. กรุงเทพฯ.

จำนงค์ วงศ์สว่าง. (2552, มีนาคม 4). บทสัมภาษณ์รองผู้ว่าการระบบส่ง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. ไทยรัฐ, 4.

ชัยชาญ พูนผล. (2550). ความต้องการของผู้ประกอบการสถานบริการในการจัดระเบียบสังคมสถานบริการ: ศึกษากรณีอำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการบริหารทั่วไป), มหาวิทยาลัยบูรพา.

ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา. (2553). ซาเล้งเก็บของเก่าคนจนผู้ยิ่งใหญ่หรือภัยสังคมที่น่ากลัว. วารสารการจัดการ. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.กรกฎาคม, 3(2), 21.

ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา. (2553). ยุทธศาสตร์การสร้างมูลค่าเพิ่มของการคัดแยกขยะเพื่อรีไซเคิล เชิงธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการและชุมชนในเขตจังหวัดภาคกลางของประเทศไทย. (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์. (2555). วิธีการวิจัยเชิงผสมผสานสำหรับงานสาธารณสุข. วารสารสาธารณสุข, มหาวิทยาลัยบูรพา. กรกฎาคม-ธันวาคม, 7(2), 32.

นริศรา ดอกมณฑา. (2554). ธุรกิจซื้อ-ขายของเก่าที่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชนในเขตตำบลเวียงฝาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

พิสิฐ กังไพบูลย์. (2555). การเมืองของการนำนโยบายการจัดระเบียบสังคมรูปแบบจังหวัดอุบลราชธานีไปฏิบัติ ศึกษาเฉพาะสถานประกอบการในเขตพื้นที่อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ภิรมย์ลักษณ์ โกสิลา. (2553). ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างความเป็นหุ้นส่วนทางสังคมในการจัดสวัสดิการแบบบูรณาการ: กรณีศึกษา ศูนย์บริการทางสังคมแบบมีส่วนร่วม. วิทยานิพนธ์หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิชัย ภู่โยธิน. (2551). หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคมม.4-ม.6. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2553). การวิจัยพัฒนารูปแบบ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, กรกฎาคม-ธันวาคม, 2(4),79-83.

วรรณวิภา ทัพวงศ์. (2551). การติดตามประเมินผลและพัฒนาโครงการจัดระเบียบสังคมบริเวณปริมณฑลมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์พื้นที่ต้นแบบชุมชนน่าอยู่และปลอดภัยซอยประชาชื่น-นนทบุรี 8 (Campus Safety Zone)(รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ศูนย์สนเทศและหอสมุด.

สมไทย วงษ์เจริญ. (2554). รวยด้วยขยะ. กรุงเทพฯ: โพสต์บุ๊กส์.

สมไทย วงษ์เจริญ. (2551). คู่มือคัดแยกขยะประจำบ้าน. กรุงเทพฯ: จำปาทองพริ้นติ้ง.

สุรพงษ์ ลือทองจักร. (2552). หลักมานุษยวิทยาและหลักสังคมวิทยา. อุดรธานี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรราชธานี.

สุวรรณา จึงรุ่งเรือง. (2553, มิถุนายน 23). สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมไทย. ประชาชาติธุรกิจ, 8.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สรรพวัฒน์ สุขศิริ. (2549). การจัดระเบียบสังคมกับชุมชนปลอดยาเสพติด:วิทยานิพนธ์หลักสูตรยุทธศาสตร์ การพัฒนามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

Keeves, P. J. (1988). Model and Model Building. Educational Research. Methodology any measurement: An international Handbook. Oxford: Pergamon Press.

Cronbach, L. J. (1970). Essentials of psychological testing (3rd ed.). New York: Harper & Row.

Translated Thai References

Chuengroongroeng, S. (2010, June 23). Environmental Situations in Thailand. Prachachart, 8.

Dokmontha, N. (2011). The Effectof Recycling Garbage Separation Business towards The Fang’s Ways Lives, Chiangmai. (Unpublished Thesis). Chiang Rai University. [in Thai]

Kangpaibool, P. (2012). The Politics on the Implementation of the Social Disorder Organization in Entertainment Complexes in Muang District, UbonRatchathani. (Unpublished Thesis). UbonRatchathani University. [in Thai]

Kittherawutthiwong, N. (2012). Mixed Research Methodsfor Public Health Care. Journal of Burapha University. July-December 7(2), 32. [in Thai]

Kosila, P. (2010). Knowledge, Attitudes and Implementations regarding the Social Partners Creation in the Welfare Integration: A Case Study of the Social Participatory Services Center. (Unpublished Social Work thesis). Social Welfare Administration and Policy Program). Thammasart University. [in Thai]

Luethongchak, S. (2009). Sociology and Anthropology. The Faculty of Sociology and Anthropology. UdonRatchathani University. [in Thai]

Office of the National Economics and Social Development Board. (2011). National Economic and Social Development Act, B.E. 2007-2011. Bangkok: Prime Minister’s Office. [in Thai]

Pengsawat, W. (2010). A Research & Development Model. Journal of SakolNakhon Rajabhat University.July-December, 2(4), 79-83. [in Thai]

Phuyothin, W. (2008). Civics Cultural and Social Life. (1sted.). Bangkok: Aksorncharoenthat. [in Thai]

Poonphol, C. (2007). The Needs of Business Entrepreneur for Social Disorder Operation : A Case Study of AmperMuangRayong. Rayong Province. (unpublished Thesis). Burapha University. [in Thai]

Siraphatthada, Y. (2010). Strategies Management on How to Increase Value Added of Recycle Garbage Separation for Entrepreneurs and Communities in The Central Area of Thailand(Research Report). Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University. [in Thai]

Siraphatthada, Y. (2010). Zaleng: A Great Poor Curve Side Garbage Collector, or The Terrible Social Harm. Journal of The Faculty Management Science,Suan Sunandha Rajabhat University. 3(2), 21. [in Thai]

Suksiri, S. (2006). Drug-Free Community and Social Disorder: (Unpublished Master Degree Thesis in the Strategic Development Program). Phuket Rajabhat University. [in Thai]

Thapwong, W. (2008). The Evaluation and Follow-up of Social Order in PrachaCheun-Nonthaburi 8 Suburban Communities as the Most Livable Area in Dhurakij Pundit University (Campus Safety Zone). (Research Report). Bangkok: Information Technology and Library Center, Dhurakij Pundit University. [in Thai]

The Ministry of Commerce. (2009). A Handbook for Garbage Recycling Business. Bangkok. [in Thai]

Wongcharoen, S. (2011). Richy Rich with Garbage. Bangkok: Post Books. [in Thai]

Wongcharoen, S. (2008). A Handbook for Household Garbage Separation. Bangkok: Champathong Printing. [in Thai]

Wongsawang, C. (2009). An Interview with Vice Director of Electricity Generating Authority of Thailand.Thai Rath, 4. [in Thai]