ปฏิกิริยาตอบสนองของผู้ซื้อที่มีต่อการขาดช่วงจำหน่าย สินค้าประเภทน้ำดื่มบรรจุขวดในร้านสะดวกซื้อในเขตจังหวัดนนทบุรี

Main Article Content

สุรัชดา เชิดบุญเมือง

บทคัดย่อ

          การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ (1) ศึกษาความแตกต่างด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ และสถานภาพ กับปฏิกิริยาที่มีต่อการขาดช่วงจำหน่ายสินค้าประเภทน้ำดื่มบรรจุขวดที่มีตราสินค้าในร้านสะดวกซื้อ ในเขตจังหวัดนนทบุรี (2) ศึกษาความแตกต่างด้านพฤติกรรมการซื้อในแต่ละช่วงเวลาและจำนวนครั้งต่อ 1อาทิตย์ของการเข้ามาซื้อสินค้าในร้านเป็นประจำกับปฏิกิริยาที่มีต่อการขาดช่วงจำหน่ายสินค้าประเภทน้ำดื่มบรรจุขวดที่มีตราสินค้าในร้านสะดวกซื้อ ในเขตจังหวัดนนทบุรี โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคที่เข้ามาซื้อสินค้าประเภทน้ำดื่มในร้านสะดวกซื้อ จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน เพื่อทดสอบสมมุติฐาน ได้แก่ t-test, F-test, One-Way ANOVA, และ Multiple Comparison (Scheffe’s Method)

          ผลการวิจัย พบว่า เมื่อผู้บริโภคเข้ามาซื้อสินค้าประเภทน้ำดื่มบรรจุขวดที่มีตราสินค้าในร้านสะดวกซื้อ และพบกับสถานการณ์ของการขาดช่วงจำหน่ายสินค้า ส่งผลให้เกิดปฏิกิริยาที่แตกต่างกันด้านพฤติกรรมการซื้อในแต่ละช่วงเวลา โดยจะเลือกซื้อตราสินค้าอื่นและไม่กลับมาซื้อตราสินค้าเดิม เมื่อประเมินจากจำนวนครั้งที่เข้ามาใช้บริการใน 1อาทิตย์ พบว่า ผู้ซื้อเกิดปฏิกิริยา โดยจะเลือกซื้อตราสินค้าอื่นและไม่กลับมาซื้อตราสินค้าเดิม และการซื้อโดยเปลี่ยนขนาดแต่ยังคงเป็นตราสินค้าเดิม ซึ่งผลการวิจัยนี้สะท้อนความตั้งใจที่จะซื้อสินค้าบริโภคที่จำเป็นประเภทน้ำดื่มบรรจุขวดในร้านสะดวกซื้อที่เข้าไปใช้บริการ

 

          These research objectives are (1) to study how demographic characteristics different to the gender, age and marriage status facing with the buyers’ responses to the stock-outs of bottled water at convenience stores in Nontaburi Province (2) to study how buying behaviors divergent between period of time and frequency of visiting in week facing with the buyers’ responses to the stock-outs of bottled water in convenience stores in Nontaburi Province. The questionnaires with the sample size of 400 buyers, who bought bottled water at convenience stores in Nontaburi Province, are used for the research. The statistical analysis used descriptive statistics as means, and standard deviation and inferential statistics as T-Test, F-Test, One-Way ANOVA, Multiple Comparison (Scheffe’s Method).

          The results showed consumers’ reaction of the stock-outs would differ in partial period of a buying time, that might choose other brands with always ignore previous one, being the prior alternatives. In addition, the weekly frequency of shop visiting is reflected to an acting of choosing other brands with always ignore previous one and resizing the drinking water with the content product when it faced with out of stocks.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

สุวิมล ติรกานันท์. (2556). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชวัลนุช สินธรโสภณ. (2552). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเลือกซื้อสินค้าที่ร้านสะดวกซื้อเซเว่นอีเลฟเว่นในเขตกรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อ 2 เมษายน 2558, จาก http://proceedings.bu.ac.th

นัฐติกูณฑ์ มุมินทร์. (2556). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคในการใช้บริการร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในเขตกรุงเทพมหานคร. บทความวิจัย. การประชุมหาดใหญ่วิชาการ ครั้งที่ 4. หน้า 117-124.

นริศ ธรรมเกื้อกูล และคณะ. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าร้านสะดวกซื้อ 7-ELEVEN ประเทศไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 6(1), 1-17.

ศูนย์สุขภาพกรุงเทพ. (2553). น้ำดื่มคุณภาพในช่วงวิกฤตน้ำท่วม. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2558, จาก www.bangkokhealth.com

ชูชัย สมิทธิไกร. (2553). หนังสือพฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภธณิศร์ เติมสงวนวงศ์. (2553). การบริหารลูกค้าด้วยความจงรักภักดีนำพาไปสู่ความสำเร็จขององค์กร. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 21(1), 182-197.

ศูนย์ธุรกิจอุตสากรรม (BOC). (2558). ธุรกิจผลิตน้ำดื่ม. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2558, จาก http://boc.dip.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=386&Itemid=48

Aastrup, J. & Kotzab, H. (2009). Analyzing out-of-stock in independent grocery stores: an empirical study. International Journal of Retail & Distribution Management, 37(9), 765-789.

Shoham, A. & Bren, M. M. (2003). Compulsive buying behavior. Journal of Consumer Marketing, 20(2), 127-138.

Corsten, D. & Gruen, T. (2003). Desperately seeking shelf availability: an examination of the extent, the causes, and the efforts to address retail out-of-stocks. International Journal of Retail & Distribution Management, 31(12), 605-617.

Miranda, M. J. & Jegasothy, K. (2008). Malaysian grocery shoppers’ behavioural response to stock-outs. Asia Pacific Journal of Marketing and Logistics, 20(4), 396-412.

Helm, R. & Hegenbart, T. (2011). Costumer reactions to real out-of-stocks. Retrieved March 12, 2015, from http://epub.uni-regensburg.de/21309/1/Diskussionsbeitrag_Stock-out_management.pdf

Woensel, T. V., Donselaar, K. V., Broekmeulen, R. & Fransoo, J. (2007). Consumer responses to shelf out-of-stocks of perishable products. International Journal of Physical Distribution & Logistics Management, 37(9), 704-718.

Translates Thai References

Bangkok Health. (2010). Quality of Drinking Water in Flooding Crisis. Retrieved April 10, 2015, from www.bangkokhealth.com [in Thai]

Business Opportunity Center (BOC). (2015). The Manufacturing Business of Drinking Water. Retrieved April 7, 2015, from http://boc.dip.go.th/index.php?option=com_content &view=article&id=386&Itemid=48 [in Thai]

Mumins, N. (2013). The factors affecting to consumer behavior in the service of traditional convenience store in Bangkok. Research. The 4th of Academic Conference on Research. pp. 117-124. [in Thai]

Termsakuanwong, S. (2010). Customer Relationship Management toward the Corporate Success.Payap University Journal, 21(1), 182-197. [in Thai]

Thammakeurkon, N. et al. (2014). The influence component of customer’s loyalty at convenience store, 7-ELEVEN in Thailand. PANYAPIWAT Journal, 6(1), 1-17. [in Thai]

Tirakanan, S. (2014). Social Science Research Methods: Guidelines into practice. Bangkok: Cuprint. [in Thai]

Samittikrai, C. (2010). Consumer Behavior. Bangkok: Cuprint. [in Thai]

Sintornsophol, C. (2009). The Studied of Factors affecting to shop at the convenience store in Bangkok. Retrieved April 2, 2015, from http://proceedings.bu.ac.th [in Thai]