แนวทางการสร้างอาชีพเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ให้กับผู้สูงอายุในจังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

นนทยา อิทธิชินบัญชร

บทคัดย่อ

          แนวทางการสร้างอาชีพเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับผู้สูงอายุในจังหวัดศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาศักยภาพ และคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุในจังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างอาชีพเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับผู้สูงอายุในจังหวัดศรีสะเกษ

          ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ ศักยภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดศรีสะเกษ จากการสังเคราะห์ข้อมูลเชิงอุปมาน (Inductive Method) พบศักยภาพ 6 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) กลุ่มช่างและการจักสาน 2)กลุ่มศิลปวัฒนธรรม 3) กลุ่มดูแลสุขภาพ 4) กลุ่มทอผ้าและปักผ้า 5) กลุ่มการทำเกษตรและเลี้ยงสัตว์ 6) กลุ่มประกอบการค้าขายและบริการ ซึ่งผู้สูงอายุในจังหวัดศรีสะเกษ มองเห็นคุณค่าตนเองอยู่ในระดับสูงมาก ในด้านภาคภูมิใจในตนเอง มองตนเองในแง่ดี มีความเคารพนับถือตนเอง ปัจจุบันยังมีอะไรที่น่าทำอีกมากมายในชีวิต และตนเองมีคุณค่าเท่าเทียมกับผู้อื่น สำหรับแนวทางในการสร้างอาชีพเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับผู้สูงอายุในจังหวัดศรีสะเกษ เพื่อขับเคลื่อนในการนำไปสู่ความสำเร็จ (Success Model) จะใช้ PINS Model หรือโมเดลเข็มหมุด ประกอบด้วย ด้านการมีส่วนร่วม (Participation: P) ด้านความสนใจ ความถนัดของผู้สูงอายุ และผลประโยชน์ที่จะได้รับ (Interest: I) ด้านการสร้างเครือข่าย (Network: N) และด้านการสนับสนุนส่งเสริมจากภาครัฐและภาคเอกชน (Support: S)

 

          The Objectives of the Occupational Approach for economic value increasing to elderly people of Sisaket Province were: to study the potential and virtues in ourselves and to study the Occupational Approach for Economic Value Increasing to Elderly People of Sisaket Province.

          The Research finding were as follows: The data analyzing by inductive method found that there are 6 groups which consisted of 1) technician and woven 2) art and cultural 3) health care 4) weaving and embroidered cloth 5) agricultural and animal husbandry 6) trade and services The elderly people get by with virtues in ourselves at the high level in taking pride in ourselves, positive viewing, respect yourself, more jobs to up our life and virtues in ourselves equal in other people. The occupational approach were to successes model consisted of PINS - Model: P - Participation, I - Interest, N - Network, and S - Support by state and private sectors.  

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

เบญจวรรณ สีสด. (2552). แนวทางการพัฒนาผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมตำบลป่าสัก อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ประกาศิต วิราโค. (2552). ศักยภาพของผู้สูงอายุในตำบลหนองชัยศรีอำเภอหนองหงส์ จังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ศศิเพ็ญ พวงสายใจ และคณะ. (2552). ความเป็นไปได้ในการส่งเสริมและสร้างแนวทางการมีงานทำเพื่อการมีรายได้ ของผู้สูงอายุในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2553). โครงการศึกษาเพื่อหารูปแบบการส่งเสริมการมีงานทำแก่ผู้สูงอายุในพื้นที่ชนบท. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2557, จาก http://www.thaitgri.org/images/document /Relative_work/Kusol_MOL.pdf

สมรักษ์ รักษาทรัพย์ และคณะ. (2553). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาอาชีพและโอกาส ที่จะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมสอดคล้องกับผู้สูงอายุ. คณะเศรษฐศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2557). รายงานการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2557, จาก http://www.nso.go.th/

สำนักงานเทศบาลเมืองศรีสะเกษ. (2557). เอกสารข้อมูลพื้นฐานประชากรในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษ.

Alexandre Cristina Ranos da Silva lopes. (2006). Welfare Arrangements, Safety Nets and Familial Support for the Elderly in Portugal. Retrieved May 9, 2014, from http://ler.letras.up.pt/ uploads/ficheiros/5041.pdf

Cohen, J. M. & Uphoff, N. T. (1980). Participation’s Place in Rural Development: Seeking Clarity through Specificity. World Development, 8(3).

Coopersmith, S. (1981). Self – esteem and need achievement as determinants of selective recall and repetition. Journal of Abnormal and Social Psychology, 60(3), 310-317.

Hampton, J. (2008). Elderly People and Social Welfare in Zimnanwe. Retrieved May 9, 2014, from http://journals.Cambridge.org/action/displayAbstract:jsessionid=19A4CC20FA70B9A71431706C7874F2A.journals?fromPage=online&aid=2654772

Rosenberg, F. R. & Rosenberb, M. (1978). Self – esteem and delinquency. Journal of Youth and Adolescence, 7(Sept.), 279-291.

Taiwan Review. (2010). Taiwan’s Ageing Population Hits Record High. Retrieved May 9, 2014, from http://taiwanreview.nat.gov.tw/ct.asp?xitem=92758&ctnode=205&mp=1

Translated Thai Reference

National Statistical Office. (2014). The 2014 survey of the older persons in Thailand. Retrieved February 4, 2014, from http://www.nso.go.th/ [in Thai]

Puangsaijai, S. et al. (2009). The Feasibility Study in Supporting and Performance Creation for Elderly Income in a Pilot Project : Case Study of Hangchat, Hangchat District. Lampang Provice. The Center of Economic Community Research and Development. Faculty of Economics, Chiang Mai University. [in Thai]

Raksasap, S. et al. (2010). The Opportunity and Occupation Project Report Study in Suitable Compensation Receiving for Elder. Research and Development Institute, Faculty of Economics, Ramkamhaeng University. [in Thai]

Sisaket Municipality Office. (2014). The Fundamental Population Documentary in Sisaket Municipality. [in Thai]

Sisot, B. (2009). Participatory approach for older people development, Pasak Sub-district, Mueang District, Lampang Province. Thesis Master Degree in Education, Graduate School, Chiang Mai University. [in Thai]

Srisaad, B. (2010). Introduction to Research. (8th ed.). Bangkok: Suriyasarn. [in Thai]

The Social and Population Research Institute. (2010). The Performance Supporting Project Model for the Elders in Rural Area. Retrieved July 22, 2557, from http://www.thaitgri.org/images/document/Relative_work/Kusol_MOL.pdf [in Thai]

Viraco, P. (2009). The potential of elder people in Nongchaisi Subdistric.Nonghong District Bureram Province. Thesis Master Degree in Public Administration, Khon Kaen University. [in Thai]