กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์

Main Article Content

ธนะวัชร จริยะภูมิ
พัลลภ พิริยะสุรวงศ์

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ 2) เพื่อประเมินกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 5 ท่าน แบ่งออกเป็นด้านกิจกรรมการเรียนรู้ 3 ท่าน ด้านสื่อสังคมออนไลน์ 2 ท่าน วิธีได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ และแบบประเมินความเหมาะสม โดยการนำไปเก็บและรวบรวมข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน พบว่า ผลประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยได้วิจัยและพัฒนาขึ้นมีความเหมาะโดยภาพรวมระดับมาก (X = 4.33, S.D. = 0.36) ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ระดับมาก (X = 4.33, S.D. = 0.57) และด้านสื่อสังคมออนไลน์ระดับมาก (X = 5.00, S.D. = 0.00) แสดงว่ากิจกรรมการเรียนรู้นี้สามารถไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม

 

          The purposes of the research study were to 1) Designing learning activities with creative problem solving via social media, 2) assess the appropriateness of the study of learning activities with creative problem solving via social media. The purposive sample was five experts in this research by purposive sampling, learning activities three users, social media two users. The tools use learning activities with creative problem solving via social media and evaluation in its data collection were mean and the standard deviation. The result of learning activities design in this study was high level that was very appropriate (X = 4.33, S.D. = 0.36), Learning activities was high level (X = 4.33, S.D. = 0.57), Social Media was high level (X = 5.00, S.D. = 0.00) that means the learning activities was suitable to use properly.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชามาศ ดิษฐเจริญ. (2557). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานตามแนวคอนสตรัคชั่นนิซึ่มในรายวิชาการเขียนโปรแกรมพัฒนาหุ่นยนต์ประยุกต์. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(2), 205-216.

ณมน จีรังสุวรรณ. (2555). หลักการออกแบบและประเมิน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศูนย์ผลิตตำราเรียนสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

พัชรินทร์ วรรณทวี. (2551). รายงานวิจัยเรื่อง ผลการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ โดยใช้การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงในรายวิชาหลักการและเทคนิคทางการพยาบาล. สุรินทร์: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสุรินทร์ สถาบันพระบรมราชชนก.

พิชิต เทพวรรณ์. (2554). สื่อสังคมออนไลน์. วารสารการจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลุยทธ์: แนวคิดและกลยุทธ์เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน.

มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2551). การเรียนรู้ทักษะชีวิต. สืบค้นเมื่อ 2 เมษายน 2557, จาก http://www.Chandra.ac.th/teacher All/mdra/date/pdf/Life-skill1L.pdf

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2544). รูปแบบการจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความสามารถพิเศษด้านทักษะความคิดระดับสูง. กรุงเทพฯ: รัตนพรชัย.

สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และแนวทางการปฏิบัติ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). แนวทางการจักการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สุทธิชัย ปัญญโรจน์. (2554). การแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ. สืบค้นเมื่อ 2 เมษายน 2557, จาก http://www.oknation.net/blog/markandtony/2011/10/15/entry-1

Dewey (1976). Moral Principle in Education. Boston: Houghton Miff in co.

Guilford, J. P. (1970). Creative Talents: Their Nature, Uses, and Development. Buffalo NY: Bearly Limited.

O’ Donohue, W. & Krasner, L. (1995). Problem Solving Skill. Handbook of Psychological Skills Training: Clinical Techniques and Applications. Boston: Allyn Bacon.

Osborn. (1957). Applied Imagination: Principles and Procedures of Creative Thinking. New York: Scribner.Race, P. (1994). 500 Tips for Students. Oxford: Blackwell Published. Spiegler.

Torrance, E. P. (1965). Rewarding Creative Behavior. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice Hall.

Translated Thai References

Discharoen, C. (2014). The Development of Creative Thinking and Learning Achievement for Grade 12 Students using Project Learning base on Construction Theory Programing of an Apply Robot Subject. Panyapiwat Journal, 5(2), 205-216. [in Thai]

Jeerangsuwan, N. (2012). Principles of design and assessment. Bangkok: King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. [in Thai]

Office of the Education Council. (2001). Instruction Model with Special Abilities for Higher Thinking skills. Bangkok: Ratanaponchai. [in Thai]

Office of the Education Council. (2007). Doctor, Student-Centered Learning to Enhance Creative Thinking. Bangkok: The Agricultural Co-operative Federation of Thailand. [in Thai]

Office of the Higher Education Commission. (2009). The National Qualifications Framework standards.Panyaroad, S. (2012). Problem Solving. Retrieved April 2, 2013, from http://www.oknation.net/blog/markandtony/2011/10/15/entry-1 [in Thai]

Susaorat, P. (2013). Development of thinking. Bangkok: Technic Printing 9119. [in Thai]Tammabut, M. (2008). Life Skills Learning. Retrieved April 2, 2013, from http://www.Chandra.ac.th/teacher All/mdra/date/pdf/Life-skill1L.pdf [in Thai]

Thapawan, P. (2012). Social Media. Journal of human resources for health. [in Thai]

Wannatvee, P. (2008). Results of The integrated teaching, Using the lessons learned from actual experience in the principles and techniques of nursing courses. Surin: Boromarajonani College of Nursing, Surin. [in Thai]